Page 51 - วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีที่ 13 ฉบับที่ 1
P. 51

46   วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต


        1113409 การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  (Science  Education  Learning
        Management)



        วิธีด าเนินการวิจัย
               การวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative  Research)
        โดยยึดกระบวนทัศน์เชิงตีความ (Interpretive Paradigm) (โชคชัย ยืนยง, 2552)

               กลุ่มเป้าหมาย
               กลุ่มเป้าหมายในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 สาขา

        วิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งหนึ่งในเขตภาคใต้ ภาค

        เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 จ านวน 12 คน


               เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
               ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้แปลแบบสอบถามมุมมองธรรมชาติของ

        วิทยาศาสตร์  (VNOS-C) ของ Lederman  et  al..(2002)เป็นฉบับภาษาไทย ซึ่งเป็น
        แบบสอบถามปลายเปิด โดยปรับเปลี่ยนข้อความและจ านวนข้อเพื่อความสอดคล้องกับ

        องค์ประกอบของธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และบริบทของประเทศ จ านวน 8  ข้อ
        (ตารางที่ 1) ซึ่งสอดคล้องกับกรอบธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ที่สามารถน าไปบูรณาการ

        กับชีวิตประจ าวันของผู้เรียน (Lederman et al., 2002  ;  McComas, 2004  ;
        Lederman,  2006) จากนั้นน าแบบสอบถามธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ไปปรึกษา
        ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) และท าไป

        ทดลองใช้กับนักศึกษาที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อท าความเข้าใจในแง่ของข้อความ
        ค าพูด ให้ตรงกับระหว่างผู้วิจัยและผู้ตอบแบบสอบถาม

               การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์
               น าแบบสอบถามธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ไปสอบใช้กับกลุ่มเป้าหมาย
        โดยใช้เวลาในการท าแบบสอบถาม 90 นาที และสัมภาษณ์เพิ่มเติมส าหรับนักศึกษา





                           ปีที่ 13 ฉบับที่ 1  มกราคม – มิถุนายน  2560
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56