Page 59 - วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีที่ 13 ฉบับที่ 1
P. 59

54   วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต


        “ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นความรู้ที่สามารถให้เหตุผลและสามารถมองเห็นได้ชัดเจน
             ดังนั้น ความรู้ทางวิทยาศาสตร์จึงจ าเป็นต้องทดลองทุกครั้ง” (S1)
                  แต่ยังมีนักศึกษาจ านวน 2 คน มีมุมมองที่ต่างออกไปโดยเชื่อว่าการ

        พัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไม่จ าเป็นต้องอาศัยการทดลองเสมอไป โดยมีการแสดง
        ให้เห็นถึงวิธีการอื่นๆในการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ (S12) ซึ่งสอดคล้องกับธรรมชาติ

        ของวิทยาศาสตร์ในประเด็น NOS 4
                  “นักวิทยาศาสตร์ไม่จ าเป็นต้องทดลองทุกครั้ง ซึ่งอาจจะพัฒนาความรู้โดย
        การรวบรวมข้อมูลจากหลายๆแหล่ง หรือสังเกต ศึกษาเป็นเวลานาน จนได้ข้อมูลที่

        มั่นใจและหลักฐานที่น่าเชื่อถือ” (S12)

                  5. การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยการสังเกตและการ
        อนุมานแตกต่างกัน(Observation and Inference : NOS 5)

                   จากการถอดความในแบบสอบถามมุมมองธรรมชาติวิทยาศาสตร์ ซึ่ง
        ปรากฏในข้อค าถามที่  5  โดยมุ่งเน้นการแสดงออกถึงความแตกต่างกันระหว่างการ
        สังเกตและการอนุมาน โดยการสังเกตเป็นกิจกรรมที่นักวิทยาศาสตร์เก็บรวบรวมข้อมูล

        จากหลักฐานเชิงประจักษ์โดยการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้นและการ
        สัมผัส รวมถึงการใช้เครื่องมือที่ช่วยให้การสังเกตได้ผลที่แม่นย าและน่าเชื่อถือขึ้น โดย

        ไม่มีการใส่ความรู้สึกนึกคิด ความคิดเห็นของผู้สังเกตลงไปในข้อมูล ผลการสังเกตจึงอยู่
        ในรูปแบบของค าบรรยาย ซึ่งจะมีลักษณะที่แตกต่างกับการอนุมาน โดยการอนุมานจะ

        เป็นการสร้างความหมายให้แก่ผลการสังเกตหรือหลักฐานเชิงประจักษ์โดยการอาศัย
        การตีความจากผลการสังเกตหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงท าให้การอนุมานมีการใส่

        ความคิดเห็นของผู้อนุมานลงไปในข้อมูลด้วย อย่างไรก็ตามผลของการอนุมานก็ต้องมี
        ความสอดคล้องกับลักษณะของผลการสังเกตด้วย ซึ่งในบางครั้งการอนุมานของ
        นักวิทยาศาสตร์ ไม่จ าเป็นจะต้องให้ผลที่ตรงกัน เนื่องจากมีปัจจัยต่างที่ส่งผลต่อการ

        อนุมานของนักวิทยาศาสตร์ พบว่า นักศึกษา จ านวน 7 คน แสดงให้เห็นว่าปัจจัยที่ท า
        ให้นักวิทยาศาสตร์ให้ค าอธิบายที่แตกต่างกัน คือการให้ความส าคัญกับแนวความคิด

        ของกลุ่ม ขณะที่นักศึกษา จ านวน  2 คน เชื่อว่าการตั้งสมมติฐานในการศึกษารวมทั้ง

                           ปีที่ 13 ฉบับที่ 1  มกราคม – มิถุนายน  2560
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64