Page 7 - Template หลักสูตรระดับปริญญาตรี
P. 7

- 5 -                             มคอ.2 ปริญญาตรี




                  12.  ผลกระทบจากข้อ 11.1 และ 11.2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน
                      12.1  การพัฒนาหลักสูตร

                            จากแนวทางที่ส านักงานต ารวจแห่งชาติใช้ในการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ อันเกิดจากการ
                                                                                  ่
                  วิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์การ โดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดออน โอกาส และปัจจัยคุกคามจาก
                  สิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกของส านักงานต ารวจแห่งชาติ ส่งผลให้ข้าราชต ารวจต้องมีการปรับเปลี่ยน

                  กระบวนทัศน์ของข้าราชการต ารวจและเป้าหมายการท างานของหน่วยงานทุกระดับให้ยึดถือการมีส่วนร่วมของ
                                                                                               ั่
                  ประชาชน ประกอบกับนโยบายของส านักงานต ารวจแห่งชาติ ได้เพมเติมนโยบายรักษาความมนคงของชาติและ
                                                                         ิ่
                                          ื้
                  แก้ไขปัญหาความไม่สงบในพนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยเสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์ร่วมกับศูนย์
                                     ื่
                                                              ื้
                  ปรองดองสมานฉันท์เพอการปฏิรูปให้เกิดขึ้นทั่วทุกพนที่ อีกทั้ง เน้นย้ าการเร่งน าสันติสุขและความปลอดภัย
                  กลับมาสู่พนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมน ากระแสพระราชด ารัส “เข้าใจ เข้าถึง พฒนา” เป็นหลักปฏิบัติ
                                                                                          ั
                           ื้
                                                                      ั
                                                         ื้
                  ด้วยการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในพนที่ ขยายกลุ่มพนธมิตรอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งให้ผู้น าศาสนา ผู้น า
                                                                                ื้
                  ท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ควบคุมสถานการณ์ความไม่สงบในพนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ให้กระทบ
                  ต่อการด ารงชีวิตตามปกติของประชาชนน้อยที่สุด
                                                                                                         ิ
                            ที่ผ่านมานั้นกระบวนการยุติธรรมเน้นรูปแบบการสร้างกลไกตามกฎหมายและการตรากฎหมายพเศษ
                                                                                                   ื่
                  ท าให้ในหลักสูตรเดิมได้เน้นการน ากระบวนการยุติธรรมกระแสหลักมาใช้ด าเนินการหลักสูตร เพอให้ผู้เรียน
                  ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการอานวยความยุติธรรมแกสังคม แต่ด้วยสภาวการณที่เปลี่ยนแปลงไปตามที่กล่าวมา
                                                              ่

                                                                                   ์
                                                                                         ั
                  ข้างต้น ประกอบกับหลักปฏิบัติเชิงนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี ได้มีการพฒนายุทธศาสตร์สันติวิธี
                  เพอความมนคงของชาติบูรณาการกับการน ากระบวนการยุติธรรมมาใช้สร้างปรองดองและสมานฉันท์ รวมถึงการ
                    ื่
                           ั่
                  สร้างสภาวะที่เออต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม ที่ควรด าเนินการทั้งในด้านการสร้างความเข้าใจร่วมของ
                               ื้
                                                   ื้
                  สังคมต่อเหตุแห่งความขัดแย้ง อันเป็นพนฐานส าคัญต่อการก าหนดและเสนอแนะแนวทางการคลี่คลายความ
                  ขัดแย้งและป้องกันเหตุที่จะท าให้เกิดความขัดแย้งในอนาคต ท าให้หลักสูตรต้องพฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มี
                                                                                   ั
                  จุดเด่นในด้านการอ านวยความยุติธรรมโดยการน ากระบวนทัศน์แบบความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (Restorative
                  Justice) มาเป็นแนวคิดการสร้างความเข้าใจร่วมกันของสังคมต่อเหตุความขัดแย้งอันเป็นการอานวยความยุติธรรม

                  โดยให้ชุมชนเข้ามีส่วนร่วมซึ่งจะช่วยน าพาสังคมไปสู่สันติภาพที่ยั่งยืน

                      12.2  ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน
                            วิทยาลัยการจัดการเพอการพฒนา เป็นหน่วยงานวิชาการที่มีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่งของ
                                                ื่
                                                      ั
                  มหาวิทยาลัยทักษิณ มีพันธกิจส าคัญในการผลิตบัณฑิตและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้กับประเทศ ตลอดจนวิจัย
                  และพฒนาองค์ความรู้ในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรของวิทยาลัยฯ และพฒนาคุณภาพบัณฑิตในสาขาวิชา
                       ั
                                                                                  ั
                  ให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 และ

                  เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ พ.ศ. 2558 เพอรองรับการบริหาร
                                                                                            ื่
                                                                                                     ุ
                  จัดการหลักสูตร ตอบสนองการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพสอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอดมศึกษา
                  แห่งชาติ ตลาดแรงงาน ความก้าวหน้าของศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งบริบททางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12