Page 8 - Template หลักสูตรระดับปริญญาตรี
P. 8

- 6 -                             มคอ.2 ปริญญาตรี




                                        ั
                  โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการพฒนาบุคลากรด้านการบริหารงานต ารวจและกระบวนการยุติธรรมเนื่องจากวิทยาลัยฯ
                  มีบันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางวิชาการกับส านักงานต ารวจแห่งชาติ ประกอบการที่ประเทศไทยได้

                  ปรับและก าหนดทิศทางในการขับเคลื่อนการพฒนาให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 -
                                                         ั
                  2579), แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ตลอดจน นโยบายความมั่นคง

                  แห่งชาติ พ.ศ. 2558 – 2564 ซึ่งมีจุดมุ่งหมายไปสู่การสร้างความ “มั่งคั่ง มั่นคง และยั่งยืน” ให้กับประเทศไทย

                            ด้วยเหตุนี้วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนาจึงมีหน้าที่และความจ าเป็นที่จะต้องปรับปรุงหลักสูตร
                  รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานต ารวจและกระบวนการยุติธรรม ให้สอดคล้องกับ

                             ั
                  ทิศทางการพฒนาประเทศและความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียส าคัญของหลักสูตร ตลอดจนเป็นไปตาม
                                                                                             ื่
                  กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ พ.ศ. 2558 เพอผลิตบัณฑิตด้าน
                                                                       ิ
                  การบริหารงานต ารวจและกระบวนการยุติธรรมที่มีคุณลักษณะพเศษตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร
                  ซึ่งได้ระบุไว้ในหมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล

                            หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานต ารวจและกระบวนการยุติธรรมถือเป็น
                  หลักสูตรหนึ่งที่มีบทบาทส าคัญต่อการขับเคลื่อนทิศทางการพัฒนาประเทศให้เป็นไปตามเป้าประสงค์ของการ

                  พฒนาทรัพยากรมนุษย์ดังแสดงรายละเอยดข้างต้น หลักสูตรดังกล่าวถือว่ามีบทบาทต่อการเสริมสร้างความ
                                                    ี
                   ั
                  สมบูรณ์ให้กับกระบวนการยุติธรรมไทยภายใต้ความร่วมมือทางวิชาการในการผลิตบัณฑิตร่วมกันระหว่าง
                                                                                                            ื่
                  มหาวิทยาลัยทักษิณและส านักงานต ารวจแห่งชาติที่ด าเนินมายาวนานกว่า 10 ปี โดยทางวิทยาลัยการจัดการเพอ
                                                                                ื่
                  การพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ ในฐานะเป็นตัวกลางในการผลิตบัณฑิตเพอรับใช้สังคมจึงได้ตระหนักและให้
                                    ั
                  ความส าคัญต่อการพฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่สอดรับกับบริบทสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง รวมถึงโครงสร้าง
                  การบริหารจัดการด้านกระบวนการยุติธรรมไทยที่มีการปรับเปลี่ยน และเป็นไปตามทิศทางการพัฒนาประเทศ
                  หรือผู้บริหาร โดยการออกแบบพฒนาปรับปรุงหลักสูตรยังเป็นไปตามความต้องการหรือความคาดหวังของผู้เรียน
                                             ั
                  ดังแสดงให้เห็นจากผลการวิจัยภายใต้โครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาแนวทางการออกแบบหลักสูตรระดับปริญญาตรี

                                     ื่
                                           ั
                  วิทยาลัยการจัดการเพอการพฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ” ซึ่งเป็นส ารวจความต้องการจากนักเรียน หรือกลุ่ม
                  ผู้สนใจศึกษาในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง พบว่า สาขาวิชาการบริหารงานต ารวจและกระบวนการยุติธรรม
                  เป็นสาขาวิชาที่นักเรียนและกลุ่มผู้สนใจให้ความส าคัญมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 48.5 รองลงมาคือสาขาการบริหาร

                  ทรัพยากรมนุษย์ คิดเป็นร้อยละ 22.2 สาขาการจัดการภาครัฐและเอกชน คิดเป็นร้อยละ 15.3 และสาขาการ
                  จัดการท้องถิ่นและพนที่พเศษ คิดเป็นร้อยละ 14.0 ตามล าดับ จากกลุ่มตัวอย่าง 600 คน ฉะนั้นจากผลการวิจัย
                                       ิ
                                   ื้
                  ดังกล่าวจึงสะท้อนให้เห็นเป็นอย่างดีแล้วว่าหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑต สาขาวิชาการบริหารงานต ารวจ
                                                                                 ิ
                  และกระบวนการยุติธรรมเป็นสาขาที่ยังคงได้รับความสนใจมากที่สุดจากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียประเภทนักเรียน

                  และผู้สนใจที่มีแนวโน้มจะเป็นผู้เรียนของหลักสูตรในอนาคต ดังนั้น การปรับปรุงหลักสูตรจึงเป็นกระบวนการหนึ่ง

                                                 ิ่
                  ในการพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อเพมประสิทธิภาพและประสิทธิผลทางการศึกษาให้สอดรับกับความต้องการ
                  ของสังคมและบริบทสถานการณ์ที่แปรเปลี่ยนไปอย่างต่อเนื่อง ผ่านภาพสะท้อนจากการประชุมกลุ่ม

                  (FocusGroup) เรื่อง “การศึกษาแนวทางการออกแบบหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13