Page 11 - Chapter 7
P. 11
8
ตัวอย่าง 2 ปฏิกิริยา 2H 2(g) + O 2(g) 2H 2O(g)
โมล 2 1 2
23
23
23
โมเลกุล 2 x 6.02 x 10 1 x 6.02 x 10 2 x 6.02 x 10
H 2 H 2 H 2 H 2O H 2O H 2O
H 2 H 2 H 2 H 2O H 2O H 2O
O 2 O 2 O 2 O 2 O 2 O 2
O 2 O 2 O 2
ก่อนเกิดปฏิกิริยา หลังเกิดปฏิกิริยา
จากแผนภาพ
ก่อนเกิดปฏิกิริยา H 2 6 โมเลกุล ท าปฏิกิริยากับ O 2 6 โมเลกุล
หลังเกิดปฏิกิริยา เกิด H 2O 6 โมเลกุล และ O 2 เหลือ 3 โมเลกุล
สรุปแผนภาพ
H 2 ถูกใช้หมด เป็น สารก าหนดปริมาณ
O 2 เหลือ เป็น สารที่มากเกินพอ
การหาสารก าหนดปริมาณ
เมื่อโจทย์ก าหนดสมการเคมีที่ดุลแล้วมาให้
aA + bB cC + dD
หาสารก าหนดปริมาณจาก
:
พิจารณาจาก อัตราส่วนที่น้อยกว่าจะเป็นสารก าหนดปริมาณ
ตัวอย่าง 3 ปฏิกิริยา 2H 2(g) + O 2(g) 2H 2O(g) ถ้าใช้ H 2 6 โมล ท าปฏิกิริยากับ O 2 6
จ ำนวนโมลขอ
งB
b
โมล จะมีสารใดเป็นสารก าหนดปริมาณ และสารใดเหลือ
จ ำนวนโมลขอ งH จ ำนวนโมลขอ งO
วิธีคิด 2 : 2
2 1
6mol : 6mol
2 1
3 : 6
ดังนั้น แสดงว่า H 2 ถูกใช้หมด H 2 เป็นสารก าหนดปริมาณ ส่วน O 2 จะเหลือ(มากเกินพอ)