Page 24 - HistoryofNakornratchasima
P. 24
- ยุคเหล็ก (ราว ๒,๕๐๐-๑,๕๐๐ ปีมาแล้ว) มนุษย์มี
การท�าเครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจ�าวันจากเหล็กส่วนการ
ใช้ส�าริดก็ยังมีอยู่แต่เปลี่ยนน�าไปท�าเป็นเครื่องประดับแทน
ภาชนะดินเผาที่พบมักเป็นผิวสีด�าขัดมันเรียกว่า “พิมายด�า”
มีพัฒนาการทางวัฒนธรรมที่สูงขึ้น ประเพณีการฝังศพยังมีอยู่
ภาชนะดินเผาพิมายด�า (ยุคเหล็ก)
ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ที่ ของอุทิศที่พบร่วมกับศพมีทั้งเครื่องประดับที่ท�าจากส�าริด
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ลูกปัดแก้ว หินกึ่งรัตนชาติ และยังพบการฝังศพทารกใน
ภาชนะดินเผาที่มีฝาปิด
เครื่องประดับท�าจากส�าริด (ยุคเหล็ก)
ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ที่
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย
แบบจ�าลองโครงกระดูกสุนัข (ยุคเหล็กตอนปลาย)
ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ที่แหล่งโบราณคดีบ้านโนนวัด
- สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงสมัยประวัติศาสตร์ (ราว ๑,๕๐๐ ปีมาแล้วเป็นต้นมา)
พบร่องรอยหลักฐานการอยู่อาศัยในชุมชนนี้ต่อเนื่องมาตั้งแต่สมัยทวารวดี อารยธรรมขอม
จนถึงสมัยอยุธยา ซึ่ึ่งอาจกล่าวได้ว่า แหล่งโบราณคดีบ้านโนนวัด เป็นชุมชนที่พบร่องรอย
การอยู่อาศัยของมนุษย์ที่ต่อเนื่องและยาวนานที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย (กรมศิลปากร,
๒๕๕๘ : ๑๘๖-๑๘๘)
ภาพการศึกษาค้นคว้าทางโบราณคดี
ณ บ้านโนนวัด ต�าบลพลสงคราม
อ�าเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา
โดยคณะของ Prof.Charles Higham
มหาวิทยาลัยโอทาโก ประเทศนิวซีแลนด์
ร่วมกับนักวิจัยชาวไทยในการวิจัย
ทางโบราณคดีเรื่อง “The Development
of An Iron Age Chiefdom : Phase Two”
ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๗-๒๕๕๒
ป้ายจัดแสดงการขุดค้นทางโบราณคดี
ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ที่
แหล่งโบราณคดีบ้านโนนวัด
22 รู้เรื่องเมืองโคราช ท่องประวัติศาสตร์และอารยธรรมขอม