Page 27 - EBOOK-TRON_2018
P. 27
คว�มสำ�คัญและคว�มเป็นม� จุดเด่น
การสำารวจของบัญชีรายจ่ายด้านสุขภาพของประเทศไทยในส่วนรายจ่ายด้านยาที่เพิ่มขึ้น สาเหตุสำาคัญเกิดจาก 1. ระบบฐานข้อมูลยาและเวชภัณฑ์ (National Medicinal Product Catalogue Database : NMPCD) ในการนำา
ประเทศไทยขาดโครงสร้างมาตรฐานข้อมูล โครงสร้างมาตรฐานการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสมาชิก ระบบไปใช้งานนอกจากจะทำาหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางในให้ข้อมูลรหัสยาแล้วนั้น การนำาระบบไปใช้ยังมีจุดเด่น ดังนี้
ในโซ่อุปทานสุขภาพทั้งระบบ รวมทั้งไม่มีระบบการเฝ้าระวังและไม่มีข้อมูลสำาหรับกำากับ ติดตามและตรวจสอบใน 1.1 ผู้ใช้งานสามารถใช้รหัสที่ใช้อยู่ในปัจจุบันได้โดยผ่านระบบ NMPCD ซึ่งสามารถ Mappingได้
การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพ เที่ยงตรงและเชื่อถือได้ เป็นที่ยอมรับทั้งในระดับองค์กร ทั้งนี้ไม่กระทบกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเดิม
และประเทศไม่สามารถนำาสู่เศรษฐกิจดิจิตอลในยุคปัจจุบันได้ 1.2 ลดความผิดพลาดที่เกิดจากมนุษย์ (Human Error) ที่จะเกิดขึ้นในกระบวนการ Mapping รหัสยาที่
ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์ของห่วงโซ่อุปทานสุขภาพของมหาวิทยาลัย ทางโรงพยาบาลต้องดำาเนินการอยู่เป็นประจำาลงได้
มหิดล ที่พบว่าข้อมูลพื้นฐาน (Foundation) อาทิ รูปแบบรหัสยามาตรฐาน กระบวนการทางธุรกิจของโซ่อุปทาน 2. โปรแกรมบริหารจัดการคลังยาและเวชภัณฑ์ (Marital Management Information System : MMIS) ช่วยให้
โรงพยาบาล รูปแบบการเชื่อมโยงข้อมูลและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกระบวนการทางธุรกิจสำาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูล โรงพยาบาลสามารถ สามารถลดต้นทุนทางโลจิสติกส และการจัดเก็บยาและเวชภัณฑลงได้ เนื่องจาก
์
์
ทางอิเล็กทรอนิกส์สำาหรับโซ่อุปทานสุขภาพ รวมถึงข้อมูลที่ใช้ในการแลกเปลี่ยน สามารถเป็นแนวทางในการพัฒนา การนำาโปรแกรมจะชวยใหโรงพยาบาลสามารถมองเห็นระดับสินคาคงคลังไดถึงจุดบริการ และวางแผน
้
้
่
้
ระบบบริหารจัดการคลังยาและเวชภัณฑ์ และนำาสู่ความพร้อมสำาหรับเศรษฐกิจดิจิทัลได้ ซึ่งการบริหารจัดการยา ในการบริหารคลังในโรงพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
และเวชภัณฑ์รวมถึงสินค้าสุขภาพอื่นๆ นั้นเป็นสิ่งสำาคัญมากที่จะช่วยลดค่าใช้จ่ายของประเทศลงได้ สาเหตุสำาคัญ
ประการหนึ่งที่ทำาให้ต้นทุนการบริหารจัดการสูงนั้นเกิดจากการดำาเนินการบริหารจัดการในลักษณะต่างฝ่ายต่างทำา ก�รนำ�ผลง�นวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่ได้บูรณาการร่วมกันและยังขาดโครงสร้างพื้นฐานด้านมาตรฐานและการบูรณาการข้อมูล จึงเป็นที่มาของ
การศึกษาของโครงการวิจัยในครั้งนี้ตามวัตถุประสงค์ของโครงการที่จะกล่าวถึงในหัวข้อถัดไป กลุ่มเป้�หม�ย ประโยชน์ที่ได้รับจ�กโครงก�ร
วัตถุประสงค์ โรงพยาบาล • ได้โปรแกรมบริหารจัดการคลังยาและเวชภัณฑ์
(Material Management Information System:
1. ศึกษาและวิเคราะห์รหัสยาและเวชภัณฑ์ที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาระบบสาธารณสุขประเทศไทยได้ MMIS) ใช้ในการบริหารจัดการคลังยาของ
2. ศึกษาและวิเคราะห์พัฒนาเพื่อออกแบบและทดสอบระบบบริหารจัดการคลังยาและเวชภัณฑ์ในสถานบริการ โรงพยาบาลให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
สุขภาพ • ระบบฐานข้อมูลยาและเวชภัณฑ์ (NMPCD)
3. ศึกษาและวิเคราะห์ออกแบบสถาปัตยกรรมองค์กรระบบบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ในระบบสาธารณสุข เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการจัดการหัสยาที่ต่างกัน
ผู้ปฏิบัติงานจริงในโรงพยาบาล • จะช่วยลดเวลาและข้อผิดพลาด ในการบันทึก
ข้อมูลในระบบต่างๆ ที่ต้องบันทึกข้อมูล
เพื่อนำาส่ง เช่น ระบบeGP , ระบบ GFMIS
• จะช่วยลดข้อผิดพลาดในการตรวจสอบรหัสยา
กระทรวงสาธารณสุข ได้รับข้อมูลที่แต่ละโรงพยาบาลต้องนำาส่งรายงาน
สู่ส่วนกลางอย่างถูกต้อง และน่าเชื่อถือ ทั้งยัง
สามารถใช้ข้อมูลในการประกอบการตัดสินใจ
ของผู้บริหารระดับสูงได้อีกด้วย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมบัญชีกลาง ได้ระบบฐานข้อมูลยาและเวชภัณฑ์ในการใช้งาน
สำานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และ ซึ่งช่วยลดระยะเวลาและขั้นตอนในการแปลงรหัสยา
สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เป็นต้น จากรหัสใดรหัสหนึ่ง เป็นรหัสหนึ่ง เนื่องจาก
เมื่อป้อนรหัสใดๆ เข้าไปแล้วจะปรากฏรหัสยา
ที่ต้องการ และสามารถนำาไปใช้งานได้ทันที
มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2561 | 26 27 | Thailand Research Expo 2018