Page 29 - Demo
P. 29

ขั้นท่ี 2 กํารมีส่วนร่วมในกํารดําเนินงําน (Implementation) ในส่วนที่เป็นองค์ประกอบ ของกํารดําเนินงํานโครงกํารนั้นได้มําจํากคําถํามว่ําใครจะทําประโยชน์ให้แก่โครงกํารได้บ้ํางและจะทํา ประโยชน์ได้โดยวิธีใด เช่น กํารช่วยเหลือด้ํานทรัพยํากร กํารบริหํารกํารงํานและกํารประสํานงํานและ กํารขอควํามช่วยเหลือ เป็นต้น
ข้ันท่ี 3 กํารมีส่วนร่วมในกํารรับผลประโยชน์ (Benefits) ในส่วนที่เกี่ยวกับผลประโยชน์ นอกจํากควํามสําคัญของผลประโยชน์ในเชิงปริมําณและเชิงคุณภําพแล้ว ยังจะต้องพิจํารณําถึงกําร กระจํายผลประโยชน์ภํายในกลุ่มด้วย ผลประโยชน์ของโครงกํารน้ีรวมทั้งผลที่เป็นประโยชน์ทํางบวก และผลท่ีเกิดข้ึนในทํางลบที่เป็นผลเสียของโครงกําร ซ่ึงจะเป็นประโยชน์และเป็นโทษต่อบุคคลและ สังคมด้วย
ข้ันที่ 4 กํารมีส่วนร่วมในกํารประเมินผล (Evaluation) กํารมีส่วนร่วมในกํารประเมิน ผล น้ันสิ่งสําคัญจะต้องสังเกต คือ ควํามเห็น (Views) ควํามชอบ (Preferences) และควํามคําดหวัง (Expectation) ซึ่งมีอิทธิพลสํามํารถแปรเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคลในกลุ่มต่ํางๆ ได้
ถวิลวดี บุรีกุล (2543) ได้กล่ําวถึงกระบวนกํารมีส่วนร่วมท่ีนํามําประมวลเป็นระดับไว้ได้ อย่ํางน่ําสนใจ โดยถวิลวดี ได้ทําวิจัยเร่ืองประชําธิปไตยแบบมีส่วนร่วม และได้ข้อสรุปถึงกระบวนกําร มีส่วนร่วม ควรจะมีลําดับขั้นประกอบไปด้วย กํารให้ข้อมูล กํารเปิดรับควํามคิดเห็นของประชําชน กํารปรึกษําหํารือกํารวํางแผนร่วมกัน กํารร่วมปฏิบัติและกํารควบคุมติดตํามโดยประชําชน โดยเป็น กํารเร่ิมจํากกํารส่ือสํารทํางเดียว ซ่ึงเป็นกํารให้ข้อมูลแต่เพียงอย่ํางเดียวไปจนถึงส่ือสํารสองทํางท่ีเป็น กํารปรึกษําหํารือ ร่วมคิด ร่วมวํางแผน และเมื่อส่ือสํารกันเข้ําใจตรงกันแล้ว จึงเป็นกํารร่วมทํา และใน ที่สุดเป็นกํารร่วมติดตํามควบคุม ซึ่งนับเป็นขั้นตอนของกํารมีส่วนร่วมสูงสุด
อภิญญํา กังสนํารักษ์ (2544) ได้นําเสนอกระบวนกํารมีส่วนร่วมของชุมชนว่ํา ชุมชนต้องมี ส่วนร่วมใน 4 ข้ันตอน ได้แก่ 1) กํารมีส่วนร่วมในกํารริเริ่มโครงกําร ร่วมค้นหําปัญหําและสําเหตุของ ปัญหําภํายในชุมชน ร่วมตัดสินใจกําหนดควํามต้องกํารและร่วมลําดับควํามสําคัญของควําม ต้องกําร 2) กํารมีส่วนร่วมในขั้นกํารวํางแผน กําหนดวัตถุประสงค์วิธีกํารแนวทํางกํารดําเนินงําน รวมถึงทรัพยํากรและแหล่งวิทยํากรท่ีจะใช้ในโครงกําร 3) กํารมีส่วนร่วมในขั้นตอนกํารดําเนินโครงกําร ทําประโยชน์ให้แก่โครงกํารโดยร่วมช่วยเหลือด้ํานทุนทรัพย์ วัสดุอุปกรณ์ และแรงงําน 4) กํารมีส่วนร่วม ในกํารประเมินผลโครงกําร เพื่อให้รู้ว่ําผลจํากกํารดําเนินงํานบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีกําหนดไว้หรือไม่ โดยสํามํารถกําหนดกํารประเมินผลเป็นระยะต่อเน่ืองหรือประเมินผลรวมท้ังโครงกํารในครําวเดียวก็ได้
ประเภทกํารมีส่วนร่วม
เฉลียว บุรีภักดี และคนอื่นๆ (2545) สรุปได้ว่ํากํารมีส่วนร่วมของชุมชน แบ่งได้ ออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
1) กํารมีส่วนร่วมแบบชํายขอบ (Marginal Participation) เป็นกํารมีส่วนร่วมที่เกิดจําก ควํามสัมพันธ์เชิงอํานําจไม่เท่ําเทียมกัน กล่ําวคือ ฝ่ํายหน่ึงรู้สึกด้อยอํานําจกว่ํา มีทรัพยํากรหรือ ควํามรู้ด้อยกว่ําอีกฝ่ํายหน่ึง เป็นต้น
2) กํารมีส่วนร่วมแบบบํางส่วน (Partial Participation) เป็นกํารมีส่วนร่วมที่เกิดจําก กํารกําหนดนโยบํายของรัฐ โดยไม่รู้ควํามต้องกํารของประชําชน ดังนั้น กํารมีส่วนร่วมจึงเป็นเพียง ประชําชนได้ร่วมแสดงควํามคิดเห็นในกํารดําเนินกิจกรรมบํางส่วนบํางเร่ืองเท่ําน้ัน
 13
 
























































































   27   28   29   30   31