Page 38 - Demo
P. 38
องค์กรมีควํามเส่ียงต่อกํารแตกแยกกันเป็นกลุ่มๆของบุคลํากรในองค์กรเป็นปัญหําท่ีพบได้เป็นปกติ เช่นบํางคร้ังจะพบว่ําลูกจ้ํางในแผนกหน่ึงอําจใช้เวลําท้ังหมดในกํารพูดคุยเฉพําะในแผนกของตนเอง โดยไม่เคยสัมผัสคนในแผนกอ่ืนหรือที่เห็นเป็นปัญหําอยู่บ่อยๆคือลูกจ้ํางในแผนกหน่ึงจะไปพูดคุยกับ คนในแผนกอื่นโดยไม่สุงสิงกับคนในแผนกเดียวกันไม่ว่ําเป็นกรณีใดท่ีกล่ําวมํานี้เป็นผลให้กลุ่มย่อยๆท่ี เกําะเก่ียวอย่ํางไม่เป็นทํางกํารของลูกจ้ํางน้ีจะก่อให้เกิดแก่นแกนของกํารสื่อสํารและกํารไว้วํางใจซึ่ง กันและกันในขณะท่ีไม่มีกํารผูกรัดกันอย่ํางเหนียวแน่นระหว่ํางกลุ่มเหล่ํานี้นั้นควํามรู้ที่เกิดจํากสัญชําติ ญําณ (Tacit knowledge) หรือควํามเชี่ยวชําญจะเกิดข้ึนได้เพียงเล็กน้อยเท่ําน้ัน
จุดแข็งของควํามผูกพันแบบหลวมๆ (Strength of weak ties) ประเด็นสําคัญของแนวคิด น้ีก้ําวไกลไปกว่ําเรื่องของกํารถ่ํายโยง (Transmission) ระหว่ํางตัว “ผู้ให้ข้อมูลสําคัญ”(Important information) ระหว่ํางกลุ่มต่อกลุ่มที่มีโครงสร้ํางกลุ่มชัดเจนกํารผูกพันกันอย่ํางหลวมๆน้ีจะช่วยเชื่อม สะพําน (Bridge) ระหว่ํางกลุ่มซ่ึงจะเป็นกํารถักทอกลุ่มเล็กกลุ่มน้อยในองค์กรเข้ําด้วยกันและยังจะ ช่วยให้องค์กรดําเนินกํารต่อไปได้ด้วยกํารร่วมมือกันของสมําชิกท้ังมวล (อธิบํายด้วยภําพท่ี 4)
หลุมโครงสร้ําง (Structural holes)
กลุ่มเล็กกลุ่มน้อยต่ํางๆในองค์กรนั้นนับว่ําเป็นต้นทุนทํางสังคมอย่ํางหนึ่งซ่ึงสํามํารถมีคุณู ประกํารต่อกํารดําเนินภํารกิจขององค์กรจํากกํารศึกษําในสองสถํานกํารณ์พบว่ําในสถํานกํารณ์ที่ องค์กรมีภําวะกํารผูกพันกันระหว่ํางหน่วยต่ํางๆ ภํายในองค์กรอย่ํางหลวมๆ (Weak inter-unit ties) น้ันจะมีข้อดีตรงท่ีสํามํารถจะถ่ํายทอด (Transfer) ควํามรู้ท่ีมีควํามสลับซับซ้อนน้อยๆ (Less complex knowledge) ได้ดี ในขณะท่ีถ้ําหน่วยหรือองค์กรมีภําวะกํารผูกพันกันระหว่ํางหน่วยอย่ํางเหนียวแน่น (Strong inter-unit ties) จะสํามํารถถ่ํายทอดควํามรู้ท่ีมีควํามสลับซับซ้อนมํากได้ดี (complex knowledge) เช่นเดียวกันข้อค้นพบจํากกํารวิจัยน้ีทําให้กํารถกเถียงในประเด็น Strength of ties เปล่ียนไปจํากทฤษฎี Balance theory ไปสู่ทฤษฎี contingency theory แสดงว่ํากํารกดดันให้ก้ําว เข้ําไปสู่ภําวะสมดุลในหน่วยงํานองค์กรนั้นไม่มีควํามสําคัญต่อองค์กรอีกต่อไปแล้ว
ทฤษฎีที่นําควํามคิดออกไปสเู่ ครือข่ํายภํายนอก (Exportation network ideas)
เป็นกํารนําเอําทฤษฎีเครือข่ํายทํางสังคม(Social network theory) ไปอธิบํายวิพํากษ์ ร่วมกับแนวคิดทฤษฎีองค์กร (Organization theories) นอกจํากนี้ยังมีทฤษฎีอ่ืนๆที่ใช้ในกํารอธิบําย กํารศึกษําเครือข่ํายทํางสังคมเช่น
22