Page 36 - Demo
P. 36

2) กรําฟลําดับช้ัน (Graph hierarchy) หมํายถึงองค์กรไม่เป็นทํางกํารที่มีกํารจัดรูป องค์กรแบบมีลําดับช้ันโดยมีลักษณะควํามสัมพันธ์ของอํานําจในทิศทํางเดียวจํากเบ้ืองบนซ่ึงมี สถํานภําพสูงกว่ําไปสู่ผู้มีสถํานภําพต่ํากว่ําเบื้องล่ําง
3) กรําฟแห่งประสิทธิภําพ (Graph efficiency) ซ่ึงจะวัดจํานวนของกํารเช่ือมโยง (Link) ท่ีจําเป็นในเครือข่ํายในข้ันต่ําที่สุดที่จะป้องกันกํารแยกตัวของเครือข่ํายออกเป็นส่วนๆเหตุท่ี ต้องทํากํารลดจํานวนของกํารเชื่อมโยงในเครือข่ํายเพรําะจํานวนเชื่อมโยงท่ีมํากจะทําให้เสียเวลําและ สูญเสียทรัพยํากรในกํารดูแลรักษําด้วย
4) กรําฟเชิงทฤษฎี (Graph-theoretic) ซ่ึงจะบอกถึงกํารท่ีแต่ละคู่ของผู้กระทําจะ เข้ําถึงและข้ึนตรงกับบุคคลที่สําม (ซ่ึงอยู่ระดับบน) ในองค์กรเป็นไปตํามลักษณะของเครือข่ํายองค์กร ที่จะทําหน้ําท่ีของมันได้ดีคือมีผู้บังคับบัญชําระดับบนน้อย (Least upper boundary) ในทํางกลับกัน ถ้ําคนระดับล่ํางคนเดียวมีเจ้ํานําย 2 คนจะมีปัญหํามําก (อธิบํายด้วยภําพท่ี 1)
ทฤษฎีกรําฟทั้ง 4 ที่แสดงมุ่งอธิบํายให้เห็นโครงสร้ํางขององค์กรในเชิงควํามสัมพันธ์ระหว่ําง สมําชิกในองค์กรว่ําควรเป็นอย่ํางไรโดยอําศัยจุด (point) หรือเรียกว่ําโนด (Node) เส้น (Lines) และ หัวลูกศร (Arrow) เป็นตัวแทนควํามสัมพันธ์ระหว่ํางสมําชิกต่ํางๆในองค์กร
2. ทฤษฎีกํารเปรียบเทียบเชิงสังคม (Social comparison theory) ทฤษฎีน้ีจะสนใจว่ํา บุคคลจะจัดแจงสภําวะควํามสัมพันธ์ของพวกเขําเพ่ือลดควํามรู้สึกของควํามไม่สมดุลยแห่ง ควํามสัมพันธ์แต่มีคําถํามเบ้ืองต้นว่ําทําไมบุคคลจึงเลือกที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับคนบํางคนเป็นประเด็น แรกหลักสําคัญประกํารหน่ึงท่ีรองรับงํานวิจัยเครือข่ํายทํางสังคมคือบุคคลพึงพอใจท่ีจะมีปฏิสัมพันธ์ กับคนอื่นซึ่งมีคุณลักษณะเหมือนกับตนในประเด็นสําคัญๆท่ีพวกตนยอมรับดังน้ันบุคคลจึงต้องกํารมี ควํามสัมพันธ์กับคนอ่ืนเพื่อ
2.1 เรียนรู้ตนเองโดยเปรียบเทียบตนเองกับคนอ่ืน
2.2 บุคคลจะเลือกคนที่เหมือน /คล้ํายๆกับตนเพ่ือเปรียบเทียบ
2.3 กํารเปรียบเทียบทํางสังคมจะมีผลอย่ํางมํากต่อทัศนคติและควํามคิดเห็นก็ต่อเม่ือ
ไม่มีวัตถุประสงค์ที่จะเปรียบเทียบพ้ืนฐํานทํางสังคม (ของทั้งคู่) และเม่ือควํามคิดเห็นน้ันมีควํามสําคัญ มํากต่อบุคคลนั้นๆ
3. ทฤษฎีควํามสมดุล (Balance theory) ปฏิสัมพันธ์ระหว่ํางบุคคลตํามทฤษฎีควํามสมดุล เร่ิมต้นจํากข้อพิจํารณําง่ํายๆเก่ียวกับ“ควํามพึงพอใจของบุคคล”(People preference) เป็นพื้นฐําน เบื้องต้นซ่ึงปกติจะอธิบํายถึงบุคคลคือ P และ O (Other :คนอ่ืน) และทัศนคติของทั้งสองคนน้ีต่อส่ิง ใดส่ิงหน่ึงหรือต่อบุคคลท่ีสําม (กําหนดเป็น X) โดยอธิบํายควํามสัมพันธ์ในลักษณะต่อไปน้ี
  20
 























































































   34   35   36   37   38