Page 40 - Demo
P. 40
24
2) ส่งเสริม และสนับสนุนกํารเคํารพสิทธิมนุษยชนภํายในประเทศของปวงสมําชิก ได้แก่ กํารให้ควํามรู้แก่ประชําชนเพื่อให้ตระหนักถึงควํามสําคัญของสิทธิมนุษยชน กํารปรับปรุงระบบ กฎหมํายภํายในประเทศให้ได้ตํามมําตรฐํานของสหประชําชําติ เป็นต้น รวมท้ังหน้ําที่ในกํารตรวจสอบ ในกรณีที่มีกํารละเลยต่อกํารคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้นอีกด้วย (United nation organization, 2012) ด้วยบทบัญญัติขององค์กํารสหประชําชําติดังกล่ําว ต่อมําจึงได้มีควํามร่วมมือในกํารจัดทํา
ปฏิญญําสํากลว่ําด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal declaration of human rights) ขึ้น และ ได้ประกําศใช้เมื่อวันท่ี 10 ธันวําคม พ.ศ.2491 (ค.ศ.1948) สําหรับประเทศไทยน้ัน เป็นประเทศใน กลุ่มแรกท่ีให้กํารรับรองปฏิญญําดังกล่ําว อย่ํางไรก็ตําม เน่ืองจํากปฏิญญําสํากลไม่ใช่กฎหมําย จึงขําดสภําพบังคับในกรณีที่มีกํารละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดข้ึน แต่โดยเนื้อหําของปฏิญญําสํากลถือได้ ว่ําเป็นมําตรฐํานของสิทธิมนุษยชนท่ีนํานําประเทศยอมรับ หลํายประเทศได้นําหลักกํารของปฏิญญํา สํากลดังกล่ําวไปเป็นต้นแบบในกํารจัดทําระบบกฎหมํายของตนให้สอดคล้องกับมําตรฐํานของนํานํา อํารยประเทศ สําหรับเนื้อหําของปฏิญญําสํากลว่ําด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อควําม 30 ข้อ มีเนื้อหําแบ่งเป็น 4 ส่วน ดังนี้
ส่วนแรก ปรํากฏในคําปรํารภ ข้อ 1 และข้อ 2 กล่ําวถึงหลักกํารสําคัญของสิทธิมนุษยชน ท่ีว่ํามนุษย์มีสิทธิติดตัวมําแต่เกิด มีศักดิ์ศรี มีควํามเสมอภําคกัน ดังน้ันจึงห้ํามเลือกปฏิบัติต่อมนุษย์ และควรปฏิบัติต่อกันเสมือนเป็นพ่ีน้อง สิทธิมนุษยชนน้ีเป็นสิ่งที่ไม่สํามํารถโอนให้แก่กันได้ จึงเป็นหน้ําท่ี ของรัฐบําลทุกประเทศที่จะสร้ํางหลักประกันแก่ทุกชีวิตด้วยกํารเคํารพหลักกํารของสิทธิเส รีภําพ ที่ปรํากฏในปฏิญญํานี้ เพ่ือให้สิทธิมนุษยชนเป็นมําตรฐํานร่วมกันสําหรับกํารปฏิบัติต่อกันของผู้คน ในสังคมท้ังในประเทศและระหว่ํางประเทศอันจะเป็นพ้ืนฐํานแห่งเสรีภําพ ควํามยุติธรรม และสันติภําพ ในโลก
ส่วนที่สอง ปรํากฏในข้อ 3 ถึงข้อ 21 กล่ําวถึงสิทธิของพลเมืองและสิทธิทํางกํารเมือง (Civil and political rights)
ส่วนท่ีสําม ข้อ 22 ถึงข้อ 27 กล่ําวถึงสิทธิทํางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ส่วนที่สี่ ข้อ 28 ถึงข้อ 30 กล่ําวถึงหน้ําท่ีของบุคคล สังคม และรัฐ โดยกํารท่ีจะต้อง ดําเนินกํารสร้ํางหลักประกันให้มีกํารคุ้มครองสิทธิท่ีปรํากฏในปฏิญญําน้ีให้ได้รับกํารปฏิบัติอย่ําง จริงจัง ห้ํามรัฐกระทํากํารละเมิดสิทธิมนุษยชนและจํากัดสิทธิของบุคคลไม่ให้ใช้สิทธิมนุษยชนละเมิด สิทธิของผู้อ่ืน สังคมและโลก
5.2 สนธิสัญญําระหว่ํางประเทศด้ํานสิทธิมนุษยชน
เป็นกฎหมํายระหว่ํางประเทศด้ํานสิทธิมนุษยชนท่ีมีพันธะผูกพันให้รัฐต่ํางๆ ท่ีเข้ําเป็นภําคี ต้องปฏิบัติตําม โดยประเทศไทยเป็นภําคีสนธิสัญญําหลักด้ํานสิทธิมนุษยชน จํานวน 7 ฉบับ ได้แก่ กติกําระหว่ํางประเทศว่ําด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทํางกํารเมือง (International Covenant on civil and political rights - ICCPR) กติกําระหว่ํางประเทศว่ําด้วยสิทธิทํางเศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรม (International Covenant on economic, Social and cultural rights - ICESCR) อนุสัญญําว่ําด้วยกํารขจัดกํารเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ และพิธีสํารเลือกรับเรื่อง กํารรับข้อ ร้องเรียน (Convention on the elimination of all forms of discrimination against women- CEDAW) อนุสัญญําว่ําด้วยกํารขจัดกํารเลือกปฏิบัติทํางเชื้อชําติในทุกรูปแบบ International