Page 41 - Demo
P. 41

convention on the elimination of all forms of racial discrimination - ICERD) อนุสัญญํา ต่อต้ํานกํารทรมําน และกํารปฏิบัติ หรือกํารลงโทษอ่ืนท่ีโหดร้ําย ไร้มนุษยธรรมหรือย้ํายีศักดิ์ศรี (Convention against torture and other cruel, Inhuman or degrading treatment or Punishment) อนุสัญญําว่ําด้วยสิทธิของคนพิกําร (Convention on the rights of persons with disabilities–CRPD) โดยเฉพําะอนุสัญญําว่ําด้วยสิทธิเด็กประเทศไทยเข้ําเป็นภําคีโดยกํารภําคยํานุวัติ และมีผลบังคบั ใช้ ต้ังแต่วันที่ 26 เมษํายน 2535 โดยปัจจุบันคงเหลือข้อสงวน 1 ข้อ คือ ข้อ 22 กํารดูแล กลุ่มเด็กซ่ึงเป็นผู้หนีภัยฯ ให้เป็นไปอย่ํางสอดคล้องกับกฎหมําย กฎระเบียบ และแนวปฏิบัติในประเทศ เนื้อหําของอนุสัญญําฉบับนี้มี 3 ส่วน 54 ข้อ ส่วนแรก (ข้อ 1-41) เป็นสําระบัญญัติว่ําด้วย สิทธิต่ํางๆ ของเด็ก ประกอบด้วยควํามหมํายของ “เด็ก” กํารประกันสิทธิพื้นฐํานของรัฐภําคีต่อเด็กในเขตอํานําจ ของตนบนสิทธิพ้ืนฐําน 4 ประกําร คือ สิทธิท่ีจะมีชีวิต สิทธิท่ีจะได้รับกํารปกป้อง สิทธิท่ีจะได้รับกําร พัฒนํา และสิทธิท่ีจะมีส่วนร่วม กํารไม่เลือกปฏิบัติ กํารคํานึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็ก กํารเคํารพต่อ ควํามรับผิดชอบและสิทธิหน้ําที่ของบิดํามํารดํา ครอบครัว และสภําพสังคมของเด็ก กํารประกันสิทธิท่ี จะมีชีวิต กํารมีชื่อ มีสัญชําติ เอกลักษณ์ กํารอยู่ร่วมกันระหว่ํางเด็กกับบิดํามํารดําและครอบครัวและ กํารรักษําควํามสัมพันธ์ระหว่ํางกัน สิทธิเสรีภําพของเด็กในกํารแสดงควํามคิดเห็น กํารแสดงออก กําร แสวงหําหรือได้รับข้อมูลข่ําวสํารควํามคิด มโนธรรม ศําสนํา กํารสมําคม ควํามเป็นส่วนตัว กํารเข้ําถึง ข้อมูลข่ําวสํารจํากสื่อและกํารคุ้มครองจํากข้อมูลข่ําวสํารท่ีเป็นอันตรําย กํารช่วยเหลือบิดํามํารดํา ปกครองให้สํามํารถเล้ียงดูเด็กได้ กํารคุ้มครองจํากควํามรุนแรงท้ังปวง กํารดูแลทํางเลือกสําหรับเด็ก กํารรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม กํารร้องขอสถํานะผู้ลี้ภัย กํารดูแลเด็กพิกําร กํารดูแลสุขภําพและกําร สําธํารณสุขสําหรับเด็กและมํารดํา กํารประกันสังคม กํารได้รับมําตรฐํานกํารดํารงชีวิตท่ีเพียงพอ กํารศึกษํา กํารพัฒนําบุคลิกภําพ กํารยอมรับควํามหลํากหลํายทํางวัฒนธรรม นันทนํากําร กํารคุ้มครอง จํากกํารถูกแสวงประโยชน์ทํางเศรษฐกิจ ยําเสพติด ทํางเพศ กํารลักพําขําย ค้ําเด็ก กํารคุ้มครอง จํากกํารแสวงประโยชน์ทุกรูปแบบ กํารถูกทรมํานหรือลงโทษที่โหดร้ําย ไร้มนุษยธรรมกํารพิพําท ด้วยอําวุธ กํารฟื้นฟูจิตใจและกํารกลับคืนสู่สังคม กํารคุ้มครองเด็กท่ีต้องประสบปัญหําด้ํานกฎหมําย และต้องเข้ําสู่กระบวนกํารยุติธรรม และผลกระทบของอนุสัญญํานี้ต่อกฎหมํายเดิมที่มีอยู่ ส่วนที่สอง (ข้อ 42-45) ว่ําด้วยกํารเผยแพร่อนุสัญญํา คณะกรรมกํารว่ําด้วยสิทธิเด็ก กํารเสนอรํายงําน กํารส่งเสริม กํารปฏิบัติตํามอนุสัญญําอย่ํางมีประสิทธิภําพด้วยควํามร่วมมือระหว่ํางประเทศ ส่วนท่ีสําม (ข้อ 46-54) ว่ําด้วยกํารลงนํามเข้ําเป็นภําคี กํารมีผลบังคับใช้ กํารแก้ไข กํารต้ังและกํารถอนข้อสงวน นอกจํากน้ี ไทยได้เข้ําเป็นภําคีพิธีสํารเลือกรับของอนุสัญญําสิทธิเด็ก จํานวน 3 ฉบับ ได้แก่
(1) เร่ืองควํามเก่ียวพันของเด็กในควํามขัดแย้งกันทํางกําลังอําวุธ (Optional protocol to the convention on the rights of the child on the involvement of children in armed conflict.)
(2) เรื่องกํารขํายเด็ก กํารค้ําประเวณีเด็กและสื่อลํามกที่เกี่ยวกับเด็ก (Optional protocol to the convention on the rights of the child on the sale of children, child prostitution and child pornography)
(3) เรื่องกระบวนกํารติดต่อร้องเรียน (Optional protocol to the convention on the rights of the child on a communications procedure.)
 25
 





























































































   39   40   41   42   43