Page 10 - หนังสือคู่มือดำเนินการตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 10
2
ี
ื
๓. กรณีอ่นท่อ�ำนำจหน้ำท่ระหว่ำงศำลขัดแย้งกัน
ี
ค�ำวินิจฉัยของคณะกรรมกำรเป็นท่สุด
ี
คณะกรรมกำรมีอ�ำนำจออกข้อบังคับโดยประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้
ก. วิธีกำรเสนอเรื่องต่อคณะกรรมกำร
ข. กำรพิจำรณำของคณะกรรมกำร
ค. กำรวินิจฉัยของคณะกรรมกำร
ง. กำรอื่นที่จ�ำเป็น
๓. องค์ประกอบ
๓.1 จ�ำนวนกรรมกำร
คณะกรรมกำรประกอบด้วยกรรมกำรโดยต�ำแหน่ง และกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่เกิน ๔ คน ดังนี้
๑. กรรมกำรโดยต�ำแหน่ง
๑.๑ ประธำนศำลฎีกำ เป็นประธำนกรรมกำร
๑.๒ ประธำนศำลปกครองสูงสุด
๑.๓ หัวหน้ำส�ำนักตุลำกำรทหำร
๑.๔ ประธำนศำลอื่น ในกรณีที่มีกำรจัดตั้งศำลอื่น (ปัจจุบันไม่มี)
๒. กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิ
๒.๑ ผู้ที่ได้รับคัดเลือกจำกที่ประชุมใหญ่ศำลฎีกำจ�ำนวนหนึ่งคน
๒.๒ ผู้ที่ได้รับคัดเลือกจำกที่ประชุมใหญ่ตุลำกำรในศำลปกครองสูงสุดจ�ำนวนหนึ่งคน
ี
๒.๓ ผู้ท่ได้รับคัดเลือกจำกท่ประชุมใหญ่ตุลำกำรพระธรรมนูญในศำลทหำรสูงสุดจ�ำนวนหน่งคน
ี
ึ
ิ
ู
ื
ี
ี
ู
่
ั
ั
่
ึ
ู
ื
๒.๔ ผ้มควำมร้และประสบกำรณ์ด้ำนกฎหมำยทมใช่ผ้พิพำกษำหรอตุลำกำร ซงได้รบคดเลอก
โดยที่ประชุมร่วมของกรรมกำรโดยต�ำแหน่งและกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิตำม ข้อ ๒.๑ - ๒.๓ จ�ำนวนหนึ่งคน
ี
ี
พระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรวินิจฉัยช้ขำดอ�ำนำจหน้ำท่ระหว่ำงศำล พ.ศ. ๒๕๔๒ มำตรำ ๑๘ ได้ก�ำหนด
ี
ให้เลขำนุกำรศำลฎีกำเป็นเลขำนุกำรคณะกรรมกำร มีหน้ำท่รับผิดชอบด�ำเนินกำรตำมท่คณะกรรมกำรก�ำหนด
ี
ี
ี
ึ
ี
ิ
ี
เลขำนุกำรศำลฎกำจงเป็นผู้มหน้ำท่บรหำรงำนธุรกำรของคณะกรรมกำรให้ด�ำเนินกำรไปด้วยควำมเรยบร้อย
๓.๒ วำระกำรด�ำรงต�ำแหน่ง
กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิมีวำระกำรด�ำรงต�ำแหน่งครำวละ ๔ ปี นับแต่วันประกำศรำยช่อกรรมกำร
ื
ผู้ทรงคุณวุฒิในรำชกิจจำนุเบกษำ
ถ้ำกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิว่ำงลง ที่ประชุมใหญ่ศำลฎีกำ ที่ประชุมใหญ่ตุลำกำรในศำลปกครองสูงสุด
ท่ประชุมใหญ่ตุลำกำรพระธรรมนูญในศำลทหำรสูงสุด หรือท่ประชุมร่วมของกรรมกำรโดยต�ำแหน่งและ
ี
ี
ี
กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิ แล้วแต่กรณี ต้องด�ำเนินกำรคัดเลือกกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิแทนต�ำแหน่งท่ว่ำง
ื
ึ
โดยเร็ว กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิซ่งได้รับกำรคัดเลือกใหม่มีวำระอยู่ในต�ำแหน่ง ๔ ปี นับแต่วันประกำศช่อ
ในรำชกิจจำนุเบกษำ