Page 97 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 97

๘๔




               ความคุ้มครองตลอดไป เจ้าหน้าที่ของรัฐจะปฏิบัติต่อผู้ต้องหาหรือจ าเลยเสมือนเป็นผู้กระท าความผิดมิได้ ศาล

               รัฐธรรมนูญจึงวินิจฉัยโดยเสียงข้างมา ๑๒ ต่อ ๒ เสียงว่า พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา
               ๑๕ วรรคสอง ไม่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓๓

                           ต่อมาเนื่องจากสภาพปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นโดยเฉพาะการแพร่ระบาด
               ของเมทแอมเฟตามีน ส่งผลให้เกิดปัญหาสังคมอย่างมาก รัฐต้องการปราบปรามอย่างเด็ดขาด จึงมีการปรับปรุง

               พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ โดยมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๕)

                                          ิ่
                                                                                                       ี
               พ.ศ. ๒๕๔๕ ขึ้น มีการแก้ไขเพมเติมในส่วนบทความผิดและบทก าหนดโทษและแก้ไขเพมเติมรายละเอยดของ
                                                                                          ิ่
               ข้อสันนิษฐานความรับผิดเรื่องการผลิต น าเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองเพอจ าหน่าย กล่าวโดยเฉพาะส าหรับ
                                                                                 ื่
               ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ดังนี้
                           มาตรา ๑๕ “ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต น าเข้า ส่งออก จ าหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษ

               ในประเภท ๑ เว้นแต่รัฐมนตรีได้อนุญาตเฉพาะในกรณีจ าเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการ

                           การขออนุญาตและการอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ก าหนดใน
               กฎกระทรวง

                           การผลิต น าเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ตามปริมาณ
               ดังต่อไปนี้ให้ถือว่าเป็นการผลิต น าเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองเพื่อจ าหน่าย

                           (๑) เด็กซ์โตรไลเซอร์ไยด์ หรือ แอล เอส ดี มีปริมาณค านวณเป็นสารบริสุทธิ์ตั้งแต่ศูนย์จุดเจ็ดห้า

               มิลลิกรัมขึ้นไป หรือมียาเสพติดที่มีสารดังกล่าวผสมอยู่จ านวนสิบห้าหน่วยการใช้ขึ้นไป หรือมี น้ าหนักสุทธิตั้งแต่
               สามร้อยมิลลิกรัมขึ้นไป

                           (๒) แอมเฟตามีนหรืออนุพันธ์แอมเฟตามีน มีปริมาณค านวณเป็นสารบริสุทธิ์ตั้งแต่สามร้อยเจ็ดสิบห้า
               มิลลิกรัมขึ้นไป หรือมียาเสพติดที่มีสารดังกล่าวผสมอยู่จ านวนสิบห้าหน่วยการใช้ขึ้นไป หรือมีน้ าหนักสุทธิตั้งแต่

               หนึ่งจุดห้ากรัมขึ้นไป

                           (๓) ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ นอกจาก (๑) และ (๒) มีปริมาณค านวณเป็นสารบริสุทธิ์ตั้งแต่
               สามกรัมขึ้นไป”

                           ภายหลังจากการใช้บังคับพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ดังกล่าว
                                     ั
               มีประเด็นปัญหาถกเถียงกนอย่างกว้างขวางในเรื่องความชอบธรรมในการน าข้อสันนิษฐานแบบเด็ดขาดมาใช้บังคับ
               ว่าเป็นการจ ากัดสิทธิของผู้ต้องหาหรือจ าเลยในการต่อสู้คดีอาญาในการน าพยานหลักฐานมาพสูจน์ให้ศาลเห็นว่า
                                                                                              ิ
                                                          ั
                                               ื่
               ตนมิได้กระท าความผิดโดยมีเจตนาเพอจ าหน่าย อนท าให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยต้องรับโทษหนักขึ้น และเป็นการ
               จ ากัดดุลพนิจของศาลในการรับฟงพยานหลักฐานของจ าเลย ทั้งมีผลกระทบต่อหลักการส าคัญของหลักนิติธรรม
                        ิ
                                           ั
                                                                                                      ิ
               ประการหนึ่งที่ว่าในคดีอาญาต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาหรือจ าเลยไม่มีความผิดจนกว่าจะมีค าพพากษา
               ถึงที่สุดว่าเป็นผู้กระท าความผิด ต่อมาจึงมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๖๐
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102