Page 98 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 98

๘๕




               ได้มีการแก้ไขจากการใช้ข้อสันนิษฐานตามกฎหมายแบบเด็ดขาด ให้เป็นข้อสันนิษฐานตามกฎหมายแบบไม่เด็ดขาด
                                                           ๒๑
               เพื่อให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยมีโอกาสพิสูจน์ความจริงได้  โดยบทบัญญัติที่เกี่ยวกับการใช้ข้อสันนิษฐานตามกฎหมาย
               แบบไม่เด็ดขาดและบทก าหนดโทษซึ่งมีการแก้ไขครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๗)

               พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่เกี่ยวกับความผิดเพื่อจ าหน่ายนั้น มีดังนี้


                           ยาเสพติดให้โทษ                                  บทก าหนดโทษ

                 ประเภท ๑
                 มาตรา ๑๕ “ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต น าเข้า   มาตรา ๖๕ ผู้ใดผลิต น าเข้า หรือส่งออกซงยาเสพติดให้โทษใน
                                                                                        ึ่
                 ส่งออก จ าหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองซึ่ง  ประเภท ๑ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๑๕ ต้องระวางโทษจ าคุก

                 ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ เว้นแต่     ตั้งแต่สิบปีถึงจ าคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งล้านบาทถึง
                 รัฐมนตรีได้อนุญาตเฉพาะในกรณีจ าเป็น  ห้าล้านบาท

                 เพื่อประโยชน์ของทางราชการ                           ถ้าการกระท าความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นการกระท า
                            การขออนุญาตและการ         เพื่อจ าหน่าย ต้องระวางโทษจ าคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่

                 อนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ วิธีการ   หนึ่งล้านบาทถึงห้าล้านบาท หรือประหารชีวิต
                                           ์
                 และเงื่อนไขที่ก าหนดใน กฎกระทรวง                    ถ้าการกระท าความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นการผลิต

                            การผลิต น าเข้า ส่งออก หรือ โดยการแบ่งบรรจุ หรือรวมบรรจุ ต้องระวางโทษจ าคุกตั้งแต่สี่ปี

                 มีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษใน  ถึงสิบห้าปี หรือปรับตั้งแต่แปดหมื่นบาทถึงสามแสนบาท หรือ
                 ประเภท ๑ ตามปริมาณ ดังต่อไปนี้       ทั้งจ าทั้งปรับ

                 ให้สันนิษฐานว่าเป็นการผลิต น าเข้า                  ถ้าการกระท าความผิดตามวรรคสาม เป็นการกระท า

                 ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองเพื่อจ าหน่าย  เพื่อจ าหน่าย ต้องระวางโทษจ าคุกตั้งแต่สี่ปีถึงจ าคุกตลอดชีวิต
                                    ์
                            (๑) เด็กซโตรไลเซอร์ไยด์   และปรับตั้งแต่สี่หมื่นบาทถึงห้าล้านบาท
                 หรือ แอล เอส ดี มีปริมาณค านวณเป็นสาร
                                               ึ้
                 บริสุทธิ์ตั้งแต่ศูนย์จุดเจ็ดห้ามิลลิกรัมขนไป  มาตรา ๖๖ ผู้ใดจ าหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพื่อจ าหน่ายซึ่ง
                 หรือมียาเสพติดที่มีสารดังกล่าวผสมอยู่  ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ โดยไม่ได้รับอนุญาตและมีปริมาณ
                 จ านวนสิบห้าหน่วยการใช้ขึ้นไป หรือมี   ค านวณเป็นสารบริสุทธิ์ หรือมีจ านวนหน่วยการใช้ หรือมีน้ าหนัก

                 น้ าหนักสุทธิตั้งแต่สามร้อยมิลลิกรัมขึ้นไป   สุทธิไม่ถึงปริมาณที่ก าหนดตามมาตรา ๑๕ วรรคสาม ต้องระวาง

                            (๒) แอมเฟตามีนหรือ        โทษจ าคุกตั้งแต่สี่ปีถึงสิบห้าปี หรือปรับตั้งแต่แปดหมื่นบาทถึง
                 อนุพันธ์แอมเฟตามีน มีปริมาณค านวณเป็น สามแสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ




                       ๒๑  เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๖๐
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103