Page 103 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 103

๙๐




                           การน าข้อสันนิษฐานความรับผิดมาใช้ในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ เพอต้องการ
                                                                                                     ื่
               แยก “ผู้เสพ” กับ “ผู้จ าหน่าย” ออกจากกัน โดยมองว่า ผู้เสพคือเหยื่อหรือผู้ป่วยที่ต้องการการบ าบัดรักษา
               แต่ผู้จ าหน่ายถือเป็นอาชญากรโดยแท้ ดังจะเห็นได้จากการก าหนดบทลงโทษที่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ หาก

                 ิ
               พจารณาถึงหลักการที่ว่ากฎหมายจะก าหนดข้อสันนิษฐานความรับผิดของจ าเลยในคดีอาญาได้ ก็ต่อเมื่อมี
                        ั
               ความสัมพนธ์กันอย่างสมเหตุสมผล (Rational Connection) ระหว่างข้อเท็จจริงที่เป็นเงื่อนไขของข้อสันนิษฐาน
                                                                                              ั
               (Basic fact) กับข้อเท็จจริงตามข้อสันนิษฐาน (Presumed fact) กล่าวคือ หากมีข้อเท็จจริงอนเป็นเงื่อนไขของ
               ข้อสันนิษฐานแล้ว เป็นที่ยอมรับแน่นอนแทบจะปราศจากข้อสงสัยเลยว่าข้อเท็จจริงตามข้อสันนิษฐานย่อมมีอยู่
               ด้วย เมื่อพิจารณาค าพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๓๐๓/๒๕๔๒  ที่ให้เหตุผลในค าวินิจฉัยตอนหนึ่งว่า “ยาเสพติดให้โทษ
                                                              ๒๓
               ในประเภท ๑ ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๑๕ วรรคสอง ในปริมาณซึ่งค านวณเป็น
               สารบริสุทธิ์ได้ตั้งแต่ ๒๐ กรัม ขึ้นไป เป็นปริมาณที่มากจนกระทั่งกฎหมายเห็นว่า การผลิต น าเข้า ส่งออกหรือมีไว้

               ในครอบครองในปริมาณดังกล่าวผู้กระท าน่าจะมีเจตนามิใช่เพื่อการใช้อย่างปกติทั่วไปคือเพื่อเสพ แต่น่าจะมีเจตนา

               พิเศษคือเพื่อจ าหน่าย กฎหมายจึงสันนิษฐานโดยให้ถือว่าการกระท าในปริมาณดังกล่าวเป็นการกระท าโดยมีเจตนา
                                                                       ั
                 ื่
               เพอจ าหน่าย...” แล้ว สะท้อนให้เห็นได้ว่า การก าหนดข้อเท็จจริงอนเป็นเงื่อนไขของข้อสันนิษฐานโดยใช้ปริมาณ
                                                                                                   ี
                                ื่
               ยาเสพติดให้โทษเพอมุ่งประสงค์จะแยก “ผู้เสพ” กับ “ผู้จ าหน่าย” ออกจากกัน โดยใช้ปริมาณเพยงเล็กน้อย
               ดังเช่นในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๑๕ วรรคสาม (๒) ที่ใช้บังคับในปัจจุบัน ไม่เป็นไป
               ตามหลักความสัมพนธ์กันอย่างสมเหตุสมผล และเป็นการผลักภาระการพสูจน์ในการหักล้างข้อสันนิษฐานตาม
                                                                              ิ
                                ั
               กฎหมายไปให้แก่ฝ่ายจ าเลยมากจนเกินกว่าเหตุ แม้ด้านหนึ่งการใช้ข้อสันนิษฐานตามกฎหมายจะเป็นเครื่องมือ
               ในการควบคุมและปราบปรามอาชญากรรมยาเสพติดของรัฐ ท าให้เกิดความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่




                       ๒๓  ค าพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๓๐๓/๒๕๔๒ “ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ตาม พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.
               ๒๕๒๒ มาตรา ๑๕ วรรคสอง ในปริมาณซึ่งค านวณเป็นสารบริสุทธิ์ได้ตั้งแต่ ๒๐ กรัม ขึ้นไป เป็นปริมาณที่มาก จนกระทั่งกฎหมาย

               เห็นว่า การผลิต น าเข้า ส่งออกหรือมีไว้ในครอบครองในปริมาณดังกล่าวผู้กระท าน่าจะมีเจตนามิใชเพื่อการใชอย่างปกติทั่วไปคือ
                                                                                               ้
                                                                                        ่
               เพื่อเสพ แต่น่าจะมีเจตนาพิเศษคือเพื่อจ าหน่าย กฎหมายจึงสันนิษฐานโดยให้ถือว่าการกระท าในปริมาณดังกล่าวเป็นการกระท า
               โดยมีเจตนาเพื่อจ าหน่าย แม้จ าเลยมีเมทแอมเฟตามีนไว้ในความครอบครองเพียง ๔.๑๒ กรัม ทั้งมิได้ค านวณเป็นปริมาณสาร

                     ิ์
               บริสุทธ จะไม่เข้าข้อสันนิษฐานของบทกฎหมายที่ว่าจ าเลยมีไว้เพื่อจ าหน่ายก็ตาม แต่ที่ศาลล่างทั้งสองลงโทษจ าเลยฐานมียาเสพติด
               ให้โทษในประเภท ๑ ไว้ในความครอบครองเพื่อจ าหน่ายเป็นเพราะจ าเลยมีเมทแอมเฟตามีนมากถึง ๕๐ เม็ด และมีพฤติการณ์ว่า
               น่าจะมีไว้เพื่อจ าหน่าย ในชนสอบสวนเมื่อพนักงานสอบสวนแจ้งข้อหาจ าเลยเพิ่มเติมว่ามียาเสพติดให้โทษไว้ในครอบครองเพื่อ
                                    ั้
                                              ั้
                                                                                               ั้
               จ าหน่ายจ าเลยให้การรับสารภาพ และในชนพิจารณาของศาลจ าเลยก็ให้การรับสารภาพเช่นเดิมอีก เมื่อศาลชนต้นสืบพยานโจทก์
               ประกอบค ารับสารภาพของจ าเลยแล้วเชอว่าจ าเลยมียาเสพติดให้โทษไว้ในครอบครองเพื่อจ าหน่ายจริง จึงได้ลงโทษตาม
                                               ื่
               พยานหลักฐานที่พิจารณาได้ความเชนนี้ ศาลล่างทั้งสองหาได้ลงโทษโดยน าข้อสันนิษฐานของกฎหมายมาปรับใชไม่ ดังนี้
                                                                                                      ้
                                            ่
               ค าพิพากษาศาลล่างทั้งสองจึงชอบแล้ว” ค าพิพากษาศาลฎีกานี้เป็นการวินิจฉัยตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๑)
               พ.ศ. ๒๕๒๒ ก่อนมีการแก้ไขโดยพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108