Page 107 - ผลงานวิชาการโครงการมหกรรมคุณภาพ โรงพยาบาลตรัง 2562
P. 107
ประสิทธิภาพ ลดระยะเวลาการเข้าถึงการรักษาโดยการฉายแสงได้รวดเร็ว
ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางในการประสานงานและสามารถติดตามวันเริ่ม
การรักษาด้านการฉายแสงที่ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ได้ จึงสามารถ
แก้ปัญหายุทธศาสตร์ที่ 4คือการเข้าถึงการฉายแสงภายใน42วัน
8.กิจกรรมการพัฒนา : เป็นการส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งกลุ่มsolid tumor ยกเว้น
ผู้ป่วยมะเร็งหูคอจมูก มะเร็งนรีเวช มะเร็งโลหิตวิทยา เพื่อไปรักษาต่างๆ
โดยเฉพาะการฉายแสงที่โรงพยาบาลสงขลานครินทร์โดยมีการด าเนินงาน1
ประชุมชี้แจงทีมรักษาโรงพยาบาลตรังกับผู้ประสานงานโรงพยาบาลสงขลา
นครินทร์ที่ใช้ระบบ E Consult 2.ลงมือใช้โปรแกรมส่งข้อมูลผ่านระบบ E
consult ส่งต่อ ติดตาม ให้ค าปรึกษาผู้ป่วยที่ต้องส่งตัวไปฉายแสง 3.ทบทวน
ปัญหาและอุปสรรคและแก้ไข พัฒนาวิธีการต่างให้เหมาะสมกับผู้ป่วยเพื่อให้
ได้มีการรักษาอย่างครบถ้วน 4. สรุปผลการด าเนินงานแก่ทีมPCT
ศัลยกรรมPCTอายุรกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
9.การประเมินและการเปลี่ยนแปลง 1.ผู้ป่วยที่ไปรับการฉายแสงที่
โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ได้รับการเตรียมความพร้อมด้านร่างกายจิตใจ
และเอกสารผ่านระบบอย่างครบถ้วนร้อยละ 100 ช่วยค่าเดินทางเพื่อไปฉาย
แสง3ราย 2.ระยะเวลารอคอยฉายแสงอยู่ระหว่าง 21-28วัน ปีงบประมาณ
2559 ผู้ป่วย58คนใน60คนคิดเป็นร้อยละ96.66 ปีงบ2560ผู้ป่วย56คนใน
62คนคิดเป็นร้อยละ90.32 ปีงบ2562 ผู้ป่วย7รายในผู้ป่วย7รายคิดเป็นร้อย
ละ100 3.โดยลดการเดินทางของผู้ป่วย ลดค่าใช้จ่ายจาก6ครั้งเหลือ3ครั้ง
นั้นคือลดได้ถึงร้อยละ 50 4.ผู้ป่วยไม่หลุดหายไปจากระบบการรักษา ร้อย
ละ 100
10.บทเรียนที่ได้รับ การท างานส่งต่อฉายแสงต้องมีองค์ความรู้ในการใช้
เทคโนโลยีและมีศาสตร์และศิลป์ในการให้ความรู้ในการฉายแสงตลอดจน
แหล่งประโยชน์ต่างๆไม่ว่าจะเป็นที่พัก เพื่อนมะเร็งร่วมการรักษาเพื่อไป