Page 102 - ผลงานวิชาการโครงการมหกรรมคุณภาพ โรงพยาบาลตรัง 2562
P. 102

2

               Empowerment  ให้แก่ญาติ  ญาติยอมรับและพร้อมที่จะดูแลผู้ป่วย  แม้วันข้างหน้าผู้ป่วยรายนี้อาจจะ

               เสียชีวิตหรือทุพพลภาพก็ตาม  และพยาบาลก็ได้เริ่มการวางแผนจ าหน่าย  (Discharge Plan) โดยใช้

               หลัก D M ET H O D  ในเวลาต่อมา




               ปัญหาของผู้ป่ วย

               Clinical  Risk
                   1.  มีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increased intracranial pressure)

                   2.  ประสิทธิภาพในการหายใจลดลงเนื่องจากพยาธิสภาพของโรคที่สมอง

                   3.  มีโอกาสเกิดความไม่สมดุลของสารน ้าและอิเล็กโทรไลท์ในร่างกาย

                   4.  มีโอกาสเกิดการติดเชื้อ  VAP,  UTI,  BSI  และบริเวณแผลผ่าตัด

                   5.  มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการนอนบนเตียงนานๆ  ได้แก่  แผลกดทับ,  ข้อติดแข็ง

               ด้านจิตใจ

                   1.  ญาติวิตกกังวลเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วย

                   2.  ญาติวิตกกังวลเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วย


               สรุป

                   -  หลังจากได้ให้การดูแลผู้ป่วยเป็นระยะเวลา  4 วัน  ผู้ป่วยรายนี้ปลอดภัยจากภาวะ

                         ความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increased intracranial pressure)

                   -  สามารถหย่าเครื่องช่วยหายใจได้  แต่ไม่สามารถเอาท่อช่วยหายใจออกได้  แพทย์จึงพิจารณาเจาะคอ

                       หลังจากเจาะคอ  7 วัน   ผู้ป่วยสามารถหายใจได้เองโดยไม่ต้องใช้ออกซิเจน  และแพทย์ได้

                       เปลี่ยนเป็น  Jackson Tube  ในเวลาต่อมา

                   -  นอกจากพยาบาลได้ปฏิบัติตามแนวทางการพยาบาลแล้ว  ยังมีทีมสหวิชาชีพเข้ามาร่วมดูแลผู้ป่วย

                       รายนี้ด้วย  ได้แก่  ทีมนักกายภาพ,  นักโภชนาการ,  เภสัชกร  ท าให้ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน

                       จากการนอนนาน  เช่น  แผลกดทับ  ข้อติดแข็ง  foot  drop   และจากการส่งตรวจไม่พบการติด


                       เชื้อ  VAP,  UTI,  BSI
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107