Page 97 - ผลงานวิชาการโครงการมหกรรมคุณภาพ โรงพยาบาลตรัง 2562
P. 97

การพัฒนาคุณภาพการเฝ้าระวังการเกิดแผลกดทับใน

                                                ผู้ป่วย Hip fracture

                                           ในหอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก

               การด าเนินงาน
                   1. ประชุมกลุ่ม

                       ผู้ป่วยบาดเจ็บด้านกระดูกและข้อส่วนใหญ่จะต้องนอนพักอยู่บน

               เตียง จึงมีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับสูง จากสถิติแผลกดทับของ

               หน่วยงานศัลยกรรมกระดูก พบว่า ปี 2559 = 1.15% ปี 2560 = 039%

               ดังนั้นหากมีการติดตามเฝ้าระวังการเกิดแผลกดทับอย่างต่อเนื่อง จะ

               สามารถป้องกันการเกิดแผลกดทับได้ ท าให้ลดค่าใช้จ่าย ลดจ านวนวัน
               นอน ลดภาระงานในการดูแลผู้ป่วย หอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกจึงจัดการ

               ด าเนินการประชุมสมาชิกทุกคนในหอผู้ป่วยเพื่อพัฒนาคุณภาพการเฝ้า

               ระวังการเกิดแผลกดทับ

                   2. วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
                       เมื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาพบว่า การปฏิบัติยังไม่เป็นไปตาม

                       แนวทาง ดังนี้

                       2.1 ขาดการให้ความส าคัญในเรื่องการป้องกันการเกิดแผลกดทับ

                       2.2 ไม่ได้ใส่ที่นอนลมในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยง
                       2.3 ไม่ได้กระตุ้นญาติให้ช่วยพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย

                       2.4 ขาดการให้ค าแนะน าในการออกก าลังกายบนเตียง

                       2.5 ขาดการประเมิน braden score ตั้งแต่รับใหม่ผู้ป่วย

                    3.  สร้างแนวทางปฏิบัติ

                     ทางหอผู้ป่วยจึงประชุมสมาชิกทุกคนในหอผู้ป่วยเพื่อหาแนวทาง

               พัฒนาคุณภาพการเฝ้าระวังการเกิดแผลกดทับ โดย



               3.1 จัดท าแบบตรวจสอบการปฏิบัติตามแนวทางการป้องกันแผลกดทับ
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102