Page 165 - ผลงานวิชาการโครงการมหกรรมคุณภาพ โรงพยาบาลตรัง 2562
P. 165

บาดแผลกับผู้ป่วยงาน งานจิตเวชจึงได้ออกแบบและจัดหาวัสดุเอง
               เพื่อให้ได้คุณภาพในการใช้งาน




               วัตถุประสงค์
                       ๑. เพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตนเองและผู้อื่น เนื่องจาก

                          พฤติกรรมก้าวร้าว

                       ๒. เป็นการจ ากัดพฤติกรรมการเคลื่อนไหวในผู้ป่วยที่มีพฤติกรรม
                          รุนแรง และไม่ให้ความร่วมมือในการรักษา

               วิธีด าเนินการ

                          ๑.  น าเสนอโครงการต่อบุคลากรในหอผู้ป่วยและงานผู้ป่วยนอก

                              และงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน
                          ๒.  เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ปัญหา ประเมินความเสี่ยงต่อการ

                              เกิดการบาดเจ็บของผู้ป่วยจากการผูกมัด

                          ๓.  คิดประดิษฐ์อุปกรณ์ผูกยึดผู้ป่วยแบบใหม่ ซึ่งช่วยลดโอกาส
                              เสี่ยงต่อการเจ็บลักษณะต่างๆ ของผู้ป่วย และสะดวกในการ

                              ปฏิบัติการพยาบาลต่อผู้ป่วยจิตเวช

                          ๔.  น าอุปกรณ์ผูกยึดผู้ป่วยจิตเวช มาใช้ในการปฏิบัติการ
                              พยาบาลผู้ป่วย

                          ๕.  ติดตามประเมินผล ประสิทธิภาพของอุปกรณ์ผูกยึดผู้ป่วยจิต

                              เวช
                          ๖.  สอนสาธิตการใช้อุปกรณ์ผูกยึดผู้ป่วยจิตเวช แก่บุคลากรใน

                              หอผู้ป่วย และเผยแพร่แก่หอผู้ป่วยอื่นๆ ในโรงพยาบาล และ

                              ต่างโรงพยาบาล
               ตัวชี้วัดผลส าเร็จของโครงการและผลลัพธ์

                       อัตราการบาดเจ็บของผู้ป่วยจากการผูกยึดด้วยอุปกรณ์ น้อยกว่า


                   ๑๐%
               บทเรียนที่ได้รับ

                       เจ้าหน้าที่ให้ความตระหนักในการเฝ้าระวังผู้ป่วยมากขึ้น ลดความ

               กังวลของญาติผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยได้รับการผูกยึด ลดอันตรายที่จะเกิด
               ขึ้นกับผู้ป่วยและบุคคลรอบข้าง
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170