Page 87 - ผลงานวิชาการโครงการมหกรรมคุณภาพ โรงพยาบาลตรัง 2562
P. 87
เกิดความล่าช้าในการรักษา การวินิจฉัยได้ตั้งแต่ระยะแรกๆ
และรักษาได้ตั้งแต่ยังไม่แตกเป็นสิ่งที่มีความส าคัญมากต่อ
ผ ล ก า ร รั ก ษ า ทั้ ง ต่ อ อั ต ร า ก า ร ต า ย อั ต ร า ก า ร เ กิ ด
ภาวะแทรกซ้อนและการดูแลในระยะยาว
จากข้อมูลของการเกิดผลกระทบและภาวะแทรกซ้อน
จากการตั้งครรภ์นอกมดลูก ในปี 2556 จนถึง ปี 2557 พบว่ามี
หญิงตั้งครรภ์นอกมดลูกที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เกิด
ภาวะช็อคจากการสูญเสียเลือด ต้องได้รับเลือดทดแทนและ
ได้รับการผ่าตัดอย่างเร่งด่วนเป็นจ านวนร้อยละ 10.53 และ
17.57 ตามล าดับ
จากข้อมูลการเกิดภาวะช็อคข้างต้น จึงน ามาทบทวน
หาสาเหตุ และพัฒนาประเด็นที่ยังดูแลได้ไม่ครอบคลุมในเรื่อง
การประเมิน และการเฝ้าระวังก่อนเกิดภาวะช็อคขึ้นตั้งแต่ ปี
2558 และได้พัฒนาและติดตามการเกิดภาวะช็อคมาตลอด
7. กิจกรรมพัฒนา
7.1 ปรับปรุงแนวทางการดูแลจากการเฝ้าระวังภาวะ
Hypovolemic shock เป็นการใช้การเฝ้าระวังภาวะ Early Warning
Signs เพื่อป้องกันภาวะ Hypovolemic shock
Early warning sign ผู้ป่วยโรค Ectopic Pregnancy
- สัญญาณชีพมีแนวโน้มผิดปกติ < 90/60 mmHg หรือชีพจร
> 120 ครั้ง/นาที เบาเร็ว
- ปวดท้อง Pain score เพิ่มขึ้นจากเดิม มากกว่าหรือเท่ากับ
7
- Sign หน้าท้อง เช่น อาการท้องอืด ท้องมี guarding
- Hct ถ้า drop มากกว่าหรือเท่ากับ 3 % รายงานแพทย์