Page 88 - ผลงานวิชาการโครงการมหกรรมคุณภาพ โรงพยาบาลตรัง 2562
P. 88
* มี Sign ข้อใดข้อหนึ่ง ติดตาม ทุก 30 นาที – 1 ชม. เพิ่มการ
ดูแลอย่างใกล้ชิด และรายงานแพทย์ทันทีและการ ใช้ SBAR ในการ
รายงานแพทย์
7.2 ทบทวน case ที่เกิดภาวะ Early Warning Signs และ
ภาวะ Hypovolemic shock
7.3 พัฒนาสมรรถนะพยาบาลในการดูแลผู้ป่วย
7.4 เพิ่มระบบการนิเทศหน้างาน โดยใช้แบบฟอร์มการนิเทศ
มีการนิเทศโดยหัวหน้าหอและหัวหน้าทีม
8. การประเมินผลการเปลี่ยนแปลง
อัตราการเกิดภาวะ Hypovolemic shock ในผู้ป่วยตั้งครรภ์
นอกมดลูก
ปี จ านวนผู้ป่วยทั้งหมด อัตราการเกิด
Hypovolemic shock
2556 95 10.53 (10 ราย)
2557 74 17.57 (13 ราย)
2558 92 1.08 (1 ราย)
2559 80 1.25 (1 ราย)
2560 66 1.52 (1 ราย)
2561 82 1.22 (1 ราย)
อัตราการเกิดภาวะ Hypovolemic shock ยังพบอยู่แต่มี
แนวโน้มที่ดีขึ้นเนื่องจากมีการเฝ้าระวังตามแนวทางอย่างใกล้ชิด และ
การนิเทศติดตามทักษะการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ในกลุ่มเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน