Page 62 - DDD4
P. 62

54





              หากมนุษย์มองเรื่องแนวคิดแบบใหม่ น้อยใจจริยธรรมสิ่งแวดล้อมที่มีความเชื่อว่าโลกเป็น

           ระบบที่มีชีวิตประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตหลากหลายที่มีความเชื่อมโยงกันและมนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิต

           ชนิดหนึ่งที่ไม่สามารถแยกออกจากธรรมชาติได้เดินทางในการสร้างความเชื่อแบบใหม่ซึ่งเป็น
           แนวคิดแบบธรรมชาติที่ยั่งยืนสรุปได้ดังนี้

              4.3.1 เรียนรู้กฎนิเวศวิทยาอย่างเป็นระบบ

           การเรียนรู้กฎนิเวศน์วิทยาอย่างเป็นระบบเพื่อให้เข้าใจปรากฏการณ์พื้นฐานทางธรรมชาติ
           สามารถใช้ชีวิตให้สอดคล้องกับกฎธรรมชาติได้อย่างกลมกลืนเป็นอันดับ 1 ไขส าคัญของการ

           ด ารงอยู่ของธรรมชาติอย่างไรหลายและมีเสรีภาพ

           ตามกฎนิเวศวิทยาธรรมชาติมีลักษณะยุ่งยากซับซ้อนเพื่อที่จะท าความเข้าใจได้อย่างลึกซึ้งและ
           รอบด้านธรรมชาติไม่ได้เป็นของมนุษย์มนุษย์เป็นเพียงส่วนหนึ่งของธรรมชาติสิ่งมีชีวิตและ

           สิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันเพื่อดึงอาศัยกันกิจกรรมของสิ่งมีชีวิตหนึ่งย่อมส่งผล

           ต่อสิ่งแวดล้อมอื่นและสิ่งแวดล้อมนิเวศวิทยาเป็นพื้นฐานของการสร้างจริยธรรมทาง

           สิ่งแวดล้อมซึ่งจะเป็นเครื่องชี้น าในมนุษย์วิถีชีวิตที่สอดคล้องกับธรรมชาติ
              4.3.2 ทางธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต

           ตามแนวคิดแบบธรรมชาติที่ยั่งยืนซึ่งเป็นแนวทางความเชื่อวิถีใหม่ที่ให้ความส าคัญเรื่องสิทธิ

           และหน้าที่ของมนุษย์มีหลักการส าคัญคือ
              1) สิ่งมีชีวิตทั้งหลายมีสิทธิ์ที่จะมีชีวิตอยู่หรืออย่างน้อยที่สุดมีสิทธิ์ที่จะสู้ต่อเพื่อการมีชีวิต

           อยู่

              2) การกระท าหรือกิจกรรมใดๆที่ท าเพื่อรักษาเสรีภาพความยั่งยืนและความหลากหลายของ

           ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องแต่ถ้าท าไปเพื่อท าลายถือว่าผิด
              3) มนุษย์ต้องรับผิดชอบต่อการกระท าที่ก่อให้เกิดความผิดพลาดและสร้างความทุกข์ให้กับ

           ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

              4) ธรรมชาติจะต้องด ารงอยู่ในสภาพที่ดีไม่สมเพื่อให้เป็นสมบัติแก่คนรุ่นหลังต่อไป
              4.3.3 อนุรักษ์ธรรมชาติ

           แนวคิดแบบธรรมชาติที่ยั่งยืนมีแนวคิดส าคัญคือสิ่งที่ดีที่สุดส าหรับชีวิตได้แก่ความรักความ

           ห่วงใยความเมตตาและความสุขซึ่งเป็นแนวคิดที่ก่อให้เกิดแนวคิดในการอนุรักษ์โดยมีหลัก
           ดังนี้

              1) การกระท าที่ก่อให้เกิดการสูญพันธุ์และท าลายถิ่นฐานของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติหรือว่า

           เป็นสิ่งที่ผิด
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67