Page 91 - DDD4
P. 91
83
บทที่ 6 ปัญหาพลังงาน
พลังงานเป็นปัจจัยพื้นฐานที่ส าคัญในการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของ
ประชาชนและเป็นปัจจัยพื้นฐานการผลิตในภาคธุรกิจอุตสาหกรรมและการเกษตรดังนั้นจึง
ต้องมีการจัดหาพลังงานให้มีปริมาณเพียงพอมีราคาที่เหมาะสมและมีคุณภาพที่ดีสอดคล้องกับ
ความต้องการของผู้ใช้เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของประชาชนและ
สามารถตอบสนองความต้องการใช้ในกิจกรรมการผลิตต่างๆได้อย่างเพียงพอแต่จากปริมาณ
การใช้พลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นและการขาดแคลนแหล่งพลังงานก่อให้เกิดปัญหาราคาพลังงานเพิ่ม
สูงขึ้นรวมถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการใช้และผลิตพลังงาน
6.1 ประวัติการพัฒนาพลังงานมาใช้ในการด ารงชีวิต
มนุษย์น าพลังงานมาใช้ในการด ารงชีวิตตั้งแต่สมัยโบราณโดยเริ่มรู้จักพลังงานจาก
ธรรมชาติได้แก่พลังงานจากขนสัตว์พลังงานจากความร้อนจากแสงอาทิตย์และการเสียดสีที่
น ามาใช้เพื่อเกิดความอบอุ่นแสงสว่างใช้ในการต้มอาหารมนุษย์เริ่มรู้จักน าพลังงานมาใช้ทน
แรงและมีการพัฒนาด้านพลังงานมาอย่างต่อเนื่องจนท าให้สามารถเปลี่ยนพลังงานรูปหนึ่งให้
เป็นพลังงานรูปอื่นได้พลังงานเป็นปัจจัยส าคัญในการส่งเสริมสวัสดิภาพและความผาสุกของ
ประชาชนมีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับความมั่นคงของประเทศด้านการเมืองการทหารด้าน
เศรษฐกิจและสังคมปัจจุบันมีการใช้พลังงานมากขึ้นในการพัฒนาเศรษฐกิจทุกสาขาเช่นสา
หกรรมทางคมนาคมขนส่งการไฟฟ้าเป็นต้น
พลังงานความร้อนที่ได้จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงเป็นพลังงานเริ่มแรกที่มนุษย์รู้จักน ามาใช้
ประโยชน์เป็นเวลานานแล้วโดยเชื้อเพลิงเริ่มที่แรกมนุษย์รู้จักน ามาใช้ คือ ฟืนและถ่านไม้ซึ่ง
เป็นเชื้อเพลิงเพื่อให้แสงสว่างและความร้อนที่ใช้ในการประกอบอาหารต่อมนุษย์จึงเริ่มรู้จัก
การใช้ประโยชน์จากเชื้อเพลิงชนิดอื่นๆได้แก่ถ่านหินน ้ามันปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติเป็น
เชื้อเพลิงเหล่านี้ประสิทธิภาพในการให้พลังงานความร้อนที่สูงกว่าพื้นหรือถ่านไม้สามารถ
น าไปใช้ในอุตสาหกรรมและการขับเคลื่อนยานพาหนะได้
ถ่านหิน น ้ามันปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติจัดเป็นเชื้อเพลิงที่มีแหล่งก าเนิดจากซากดึกด า
บรรพ์ซึ่งเกิดจากการทับถมกันเป็นระยะเวลานานของซากพืชและซากสัตว์บริเวณใต้ผิวโลก
เป็นแหล่งพลังงานมีความส าคัญและมีบทบาทต่อสังคมมนุษย์เป็นอย่างยิ่งทั้งในด้านการ
คมนาคมขนส่งและการผลิตกระแสไฟฟ้าและในกระบวนการอุตสาหกรรมต่างๆแต่เชื้อเพลิง
จากซากดึกด าบรรพ์นี้มีปริมาณจ ากัดเมื่อน ามาใช้ปริมาณมากก็ย่อมจะหมดไปในที่สุดไม่
สามารถเกิดขึ้นได้ทันกับความต้องการของมนุษย์ดังนั้น