Page 59 - หนังสือเรียนสาระความรูพื้นฐาน
P. 59

ห น า  | 59



                         ประโยคจะสมบูรณได จะตองประกอบดวย 2 สวน คือ สวนที่เปนภาคประธาน และสวนที่เป

                  นภาคแสดง

                         สวนที่เปนภาคประธาน แบงออกเปน ประธาน และสวนขยาย


                         สวนที่เปนการแสดง แบงออกเปน กริยา สวนขยาย กรรม สวนขยาย

                  ตัวอยาง


                                    ภาคประธาน           ภาคแสดง

                   ประโยค
                                    ประธาน  สวนขยาย  กริยา  สวนขยาย  กรรม         สวนขยาย


                   เด็กเดิน         เด็ก      -          เดิน    -          -       -

                   พอกินขาว       พอ       -          กิน     -          ขาว    -


                   พี่คนโตกินขนม    พี่       คนโต       กิน     -          ขนม     -

                   แมของฉันวิ่ง    แม       ของฉัน     วิ่ง    ทุกเชา    -       -

                   ทุกเชา


                   สุนัขตัวใหญ     สุนัข     ตัวใหญ    ไล     กัด        สุนัข   ตัวเล็ก

                   ไลกัดสุนัขตัวเล็ก

                   นักเรียนหญิงเล นักเรียน  หญิง        เลน    -          ดนตรี  ไทย


                   นดนตรีไทย



                  การใชประโยคในการสื่อสาร

                      ประโยคที่ใชในการสื่อสารระหวางผูสื่อสาร (ผูพูด) กับผูรับสาร (ผูฟง, ผูอานและผูดู) เพื่อใหมี

                  ความเขาใจตรงกันนั้นจําเปนตองเลือกใชประโยคใหเหมาะสมกับการสื่อสาร ซึ่งจําแนกไดดังนี้

                      1.  ประโยคบอกเลา เปนประโยคที่บอกเรื่องราวตางๆใหผูอื่นทราบวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน

                  เมื่อใด ทําอยางไร เชน คุณพอชอบเลนฟุตบอล
                      2.  ประโยคปฏิเสธ เปนประโยคที่มีใจความไมตอบรับ มักมีคําวา ไม ไมใช ไมได มิได เชน

                  ฉันไมชอบเดินกลางแดด
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64