Page 50 - งานนำเสนอ PowerPoint
P. 50
45
3. ทฤษฎีกำรเกิดพฤติกรรมจำกผู้รู้คิด ทฤษฎีนี้เชื่อว่าการรับรู้เป็นเหตุ
แห่งพฤติกรรม การรับรู้ที่พึงพอใจจะมีแนวโน้มท าให้พฤติกรรมนั้นเกิดได้ต่อไปอีก
สกินเนอร์(Skinner, 1938 : 86) นักพฤติกรรมนิยมได้สรุปว่าพฤติกรรมของ
มนุษย์ขึ้นอยู่กับผลของการกระท า พฤติกรรมใดให้ผลดี พฤติกรรมนั้นจะเกิดขึ้น
ซ้ าอีก ถ้าให้คนไม่ดีอาจจะหยุดและไม่เกิดซ้ าอีก แนวคิดนี้ได้ใช้เป็นแนวทางใน
การปรับพฤติกรรมในสถานการณ์ต่างๆ
พื้นฐำนทำงจิตวิทยำที่เกี่ยวข้องกับมนุษยสัมพันธ์
นักจิตวิทยาหลายท่านได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับบุคลิกภาพของมนุษย์ใน
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับมนุษยสัมพันธ์ไว้ดังนี้
ฟรอยด์ ( Freud) เน้นอิทธิพลของจิตใจใต้ส านึก อันมีผลต่อบุคลิกภาพฟรอยด์
เห็นว่า คนส่วนมากจะเก็บสิ่งต่างๆที่ได้รับการยอมรับหรือมีความกังวลใจในจิตใต้
ส านึกเช่น ความต้องการทางเพศหรือประสบการณ์ที่ น่าละอาย ซึ่งเป็นการยากที่
จะเข้าใจพฤติกรรมของแต่ละคนได้ ต้องอาศัยวิธีการต่างๆในการประเมิน
พฤติกรรม ฟรอยด์ แยกแยะส่วนประกอบของจิตเป็น 3 องค์ประกอบ คือ
1. ID เป็นขุมพลังของชีวิตซึ่งเป็นสัญชาตญาณที่ปราศจากการขัดเกลา
2. Ego เป็นผู้ประสานการท างานระหว่าง ID และ Superego
3. Superego เป็นผลมาจากการเรียนรู้ค่านิยม คุณธรรมอันเป็นส่วนส าคัญในการ
ควบคุม ID
การผสมผสานระหว่าง ID และ Superego ก่อให้เกิดเป็นบุคลิกภาพ
ฟรอยด์ เชื่อว่าในระหว่างพัฒนาการของมนุษย์มักพบว่าความขัดแย้งระหว่าง ID
และ Superego ซึ่งมักถูกจัดการด้วยอ านาจของพ่อแม่ จบการต่างๆของชีวิตวัย
ต้นส่งผลต่อบุคลิกภาพและการปรับตัวในวัยต่อมา