Page 17 - bennew2222
P. 17

ประวัติชุมชนมุสลิมมัสยิดช้ำงเผือกเชียงใหม่

                        ชุมชนมุสลิมเก่ำแก่อีกชุมชนหนึ่ง เป็นที่รวมของชำวมุสลิมเชื้อสำยปำกี-อินเดีย

          ซึ่งมีมุสลิมกลุ่มแรกประมำณ ๔-๕ ครอบครัว ที่อพยพมำจำกประเทศปำกีสถำนและประเทศ

          อินเดีย เข้ำมำตั้งถิ่นฐำนอยู่บริเวณนี้ รู้จักกันโดยทั่วไปคือ ทุ่งเวสำลี เป็นที่อุดมสมบรูณ์น ้ำ

          ท่วมไม่ถึง แต่จะมีน ้ำใหลผ่ำนอยู่ตลอดจำกห้วยแก้วและห้วยช้ำงเคี่ยน จึงเป็นที่เหมำะแก่กำร

          เลี้ยงสัตว์ กำรเพำะปลูกพืชผักบำงชนิด




              ในช่วงแรก มัสยิดช้ำงเผือกยังไม่มีกำรก่อสร้ำงมัสยิดเป็นอำคำรถำวร ดังนั้น กำรประกอบ

         ศำสนกิจที่ส ำคัญของชำวมุสลิม คือ กำรนมำซวันคุกร์ ชำวมุสลิมในย่ำนำนี้จะเดินทำงไปนมำซที่

         มัสยิดช้ำงคลำน เป็นประจ ำตลอดมำ ในเวลำต่อมำ ย่ำนนี้เป็นที่รู้จักกันมำกขึ้นในหมู่พ่อค้ำ

         ทั้งหลำย ท ำให้มีชำวมุสลิมอพยพเข้ำมำตั้งถิ่นฐำนในบริเวณนี้มำกขึ้น ชำวปำกีสถำน-อินเดีย

         และพ่อค้ำชำจีนมุสลิมยูนนำน ที่มีบทบำทส ำคัญในกำรก่อตั้งมัสยิดในย่ำนนี้ คือ ท่ำน นะปะ

         ซำง หรือรู้จักกันดีในหมู่พ่อค้ำว่ำ “พ่อเลี้ยงเลำนะ” ท่ำนเป็นผู้ที่ค่อนข้ำงจะมีฐำนะ เศรษฐกิจดี

         พอสมควร เป็นผู้น ำในกำรปรับปรุงและสร้ำงมัสยิดขึ้นใหม่ เป็นอำคำรที่ท ำด้วยไม้กระดำน

         (จำกเดิมที่ท ำด้วย เสำไม้ใผ่ ฝำขัดแตะ หลังคำมุ้งด้วยใบตองและไม่มีพื้น) อำคำรนี้มีลักษณะ

         มั่นคงถำวรยิ่งขึ้น และท่ำนได้รับเลือกให้ท ำหน้ำที่ให้เป็นผู้น ำศำสนำ (อีหม่ำม)










                                                                                โรงเรียนเทศบาลวัดเชียงยืน
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22