Page 12 - E-BOOK 5
P. 12

ประเพณีอิสลามที่สืบทอดปฏิบัติต่อกันมา



                                                                                                                                                                           อะกีเกาะฮ.


                                                                                                                                       กะมารุล ชุกริ ( ม.ป.ป. :61) ได้แปลคำา อะกีเกาะฮ.ว่า การตัด ซึ่งหมายถึง การทำาพิธี

                                                                                                                                ตัดผมหรือโกนผม  แก่เด็กที่เกิดใหม่  และตั้งชื่อให้เด็กนั้น  เริ่มตั้งแต่คลอดออกมาจนถึงบรรลุ

                                                                                                                                นิติภาวะ ถ้าบรรลุนิติภาวะแล้วยังไม่ ได้ทำาอะกีเกาะฮ. เด็กนั้นต้องทำาให้ตัวเอง บิดาจะทำาให้

                                                                                                                                ไม่ได้แต่เวลาที่เหมาะสมก็คือ เมื่อเด็กคลอดได้ 7 วัน แล้ว สัตว์ที่ใช้ในการทำาอะกีเกาะฮ. นั้น


                                                                                                                                สำาหรับเด็กผู้ชายให้เชือดแพะ  2  ตัว  แพะนั้นควรมีรูปร่างลักษณะที่  คล้ายคลึงกันทั้งสองตัว

                                                                                                                                และมีอายุรุ่นเดียวกันด้วย  ถ้าเป็นเด็กผู้หญิงใช้เชือดแพะหนึ่งตัว  เนื้อสัตว์ที่ถูกเชือดจะ  แบ่ง

                                                                                                                                เป็น 3 ส่วน คือ ไว้รับประทานเอง 1 ส่วน ให้ญาติพี่น้อง 1 ส่วน และบริจาคให้คนยากจน 1


        ตำานานขนมเค้กอิสลามแห่งมัสยิดสวนพลู                                                                                     ส่วน





               เพื่อน ๆ มุสลิมคงไม่มีใครไม่รู้จัก ขนมบดิน หนึ่งเมนูขนมหวานซึ่งเป็นที่รู้จักอย่างกว้าง

        ขวางในสังคม มุสลิมและคนต่างศาสนิกทั่วไป ขนมบดิน (บอ-ดิน) คาดว่ามาจากการใช้หม้อดิน

        ในการอบ เดิมชื่อ “หม้อ ดิน” แต่กร่อนเสียงเป็น “บดิน” ในปัจจุบัน คาดว่าน่าจะได้มาจาก


        กระบวนการทำาขนม  ในอดีต ใส่หม้อดินอบ  โดยเอาถ่านมาวางบนฝาหม้อเป็นไฟบนทำาให้

        เรียกกันว่า  ขนมหม้อดิน เรียกไปเรียกมาเลยกลายเป็น ขนมบดิน

                                                                                                                                                                         การเข้าสุหนัด

               ตามคำาบอกเล่า  ขนมชนิดนี้  เมื่อก่อนจะรับประทานในงานของมุสลิม  ซึ่งต้นกำาเนิดมา                                        อาจารย์เสาวนีย์ จิตต์หมวด. (2535:210) ได้กล่าวว่า “สุหนัด” น่าจะเป็นคำาที่มาจาก


        จากพ่อครัวชาว มุสลิมคนหนึ่งที่ไปเป็นพ่อครัวในห้องอาหารฝรั่ง ทำาให้ได้เรียนรู้วิธีทำาเค้กแล้ว                           “ซุนนะห.”  (ซึ่งมี  ความหมายว่าการปฏิบัติและคำาชี้ขาดของศาสดามุฮัมมัด)  เมื่อออกเสียง

        นำามาปรับปรุงใส่นมข้นหวาน  เนยกีแบบอาหารมุสลิมอื่น  ๆ  ทำาให้มีกลิ่นหอมและผิวหน้ากร                                    แบบไทยแล้วเลยกลายมาเป็น “สุหนัด” แต่ภาษาอาหรับเรียกว่า “คอตั้น” ส่วนภาษายาวีใช้
                                                                                                                               คำาว่า “มาโซะยาวี” ทั้งหมดนี้มีความหมายที่เกี่ยวกับการขลิบ หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายที่
        อบนิดๆ คล้ายขนมไข่ แต่เนื้อขนมจะนุ่มและ แน่น ไม่ร่วน เท่าขนมไข่กุฎีจีน อย่างไรก็ดีเป็น


        ที่น่าสังเกตอย่างหนึ่งว่า ชุมชนมัสยิดสวนพลูธนบุรีซึ่งเป็นต้น กำาเนิดขนมชนิดนี้อยู่ไม่ไกลจาก                            ชายมุสลิมทุกคนต้องเข้าสุหนัดเช่นกันจึงถือว่าเป็นมุสลิมที่สมบูรณ์  เพราะแม้แต่  ศาสดามุฮัม

        ชุมชนจีนที่ทำาขนมไข่กุฎีจีน อาจจะเป็นการเรียนรู้และนำามาพัฒนาเป็นขนม ของแต่ละชุมชน                                     มัดยังปฏิบัติและได้สั่งให้มุสลิมทุกคนปฏิบัติตาม

        ได้













        12                                                                                                                                                                                                                           13
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17