Page 18 - Buddhist
P. 18
14
กรอบที่ 7
อริยสัจสี่ คือ ควำมจริงอันประเสริฐ ที่พระองค์ค้นพบ
มี 4 ประการได้แก่
ควำมทุกข์ ได้แก่ ความเกิด ความแก่ ความตายความได้พบ
กับสิ่งที่ไม่เป็นที่รัก ความพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก ปรารถนา
สิ่งใดแล้วไม่ได้สิ่งนั้น ว่าโดยย่อ อุปาทานในขันธ์ 5 เป็นทุกข์
สำเหตุแห่งทุกข์ ได้แก่ ตัณหาความทะยานอยาก อันท า
ให้เกิดอีกความก าหนัด เพลิดเพลินในอารมณ์ คือกามตัณหา ความ
ทะยานอยากในกาม ภวตัณหา ความทะยานในภพ วิภวตัณหา ความ
ทะยานอยากในความไม่มีภพ
ควำมดับทุกข์ โดยการดับตัณหาด้วยอริยมรรค คือ วิราคะ www.numtan.com/web/picupload/314.JPG
สละ ดับ ปล่อยไป ไม่พัวพัน
หนทำงปฏิบัติเพื่อดับทุกข์ ได้แก่ อริยมรรคมีองค์ 8 คือ ความเห็นชอบ ความด าริชอบ การเจรจา
ชอบ การกระท าชอบ การเลี้ยงชีพชอบ ความพยายามชอบ การระลึกชอบ และการตั้งจิตมั่นชอบ
ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแก่พระองค์ว่า
นี้เป็นทุกข์ อันควรก าหนดรู้ และพระองค์ ได้ก าหนดรู้แล้ว
นี้เป็นสาเหตุแห่งทุกข์ อันควรละ และพระองค์ ได้ละแล้ว
นี้เป็นความดับทุกข์ อันควรท าให้แจ้ง และพระองค์ ได้ท าให้แจ้งแล้ว
นี้เป็นหนทางดับทุกข์ อันควรเจริญ และพระองค์ ได้เจริญแล้ว
สรุปได้ว่า ปัญญาอันรู้เห็นแจ้งชัดตามความเป็นจริงในอริยสัจ 4
ขั้นแรก รู้ว่า อริยสัจแต่ละอย่างนั้นเป็นอย่างไร
ขั้นที่สองรู้ว่าควรจะท าอย่างไรในอริยสัจแต่ละประการนั้น และ
ขั้นที่สาม พระองค์ได้ กระท าตามนั้นส าเร็จเสร็จแล้ว
เมื่อพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงประกาศพระธรรมจักร ให้เป็นไปแล้ว ได้มีการ
บันลือต่อ ๆ กันไปให้ทราบทั่วกันว่า พระธรรมอันยอดเยี่ยมที่พระองค์ทรงประกาศให้เป็นไปแล้ว ณ ป่า
อิสิปตนมฤคทายวัน เขตเมืองพาราณสี อันใคร ๆ ในโลกจะปฏิวัติไม่ได้