Page 28 - Buddhist
P. 28
24
กรอบที่ 17
กำรไม่ท ำควำมชั่วทั้งปวง คนเราท าชั่วได้ 3 ทาง คือ ทางกาย วาจา และทางใจ ซึ่งถือเป็นการกระท า
ที่ผิดทั้งทางกฎหมาย ศีลธรรมและขนบประเพณี ขึ้นอยู่กับว่าจะประพฤติชั่วแบบใด เพราะการท าชั่วบางอย่าง
แม้ไม่ผิดกฎหมาย แต่ผิดศีลธรรมหรือขนบประเพณีได้การไม่ท าความชั่วทั้งปวงแยกออกได้ดังนี้
1. การไม่ท าชั่วทางกาย ได้แก่
1.1 ไม่ท าร้ายหรือเบียดเบียนผู้อื่น ไม่น าสัตว์มาทรมานกักขัง
1.2 ไม่ลักขโมย ไม่ถือเอาทรัพย์ของผู้อื่น
1.3 ไม่ประพฤติผิดในกาม รวมไปถึงการไม่ท าลายวัตถุอันเป็นที่รักของผู้อื่น
2. การไม่ท าความชั่วทางวาจา ได้แก่
2.1 ไม่พูดเท็จ ไม่พูดหลอกลวง
2.2 ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดยั่วยุให้คนแตกความสามัคคี
2.3 ไม่พูดค าหยาบ
2.4 ไม่พูดเพ้อเจ้อเหลวไหลอันหาสารประโยชน์ไม่ได้
3. การไม่ท าชั่วทางใจได้แก่
3.1 ไม่คิดโชค อยากได้ของผู้อื่นโดยมิชอบ
3.2 ไม่คิดพยาบาท ปองร้ายหรือคิดแก้แค้น
3.3 ไม่เห็นผิดเป็นชอบ ไม่หลงงมงายกับความคิดที่ผิด ๆ
กำรท ำควำมดีให้ถึงพร้อม การไม่ท าชั่วดังที่กล่าวมา ถือได้ว่าเป็นการท าความดีถึงระดับหนึ่งแล้ว แต่
จะให้ดีจริงไม่เพียงแต่ละเว้นความชั่ว หากแต่ต้องประกอบคุณงามความดีด้วยการท าความดีก็ท าได้ 3 ทางคือ
ทางกาย ทางวาจา และทางใจ
1. การท าความดีทางกาย ได้แก่
1.1 มีเมตตากรุณาช่วยเหลือผู้อื่น
1.2 เคารพกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของผู้อื่น
1.3 มีความส ารวมในกาม ยินดีเฉพาะคู่ครองของคน
2. การท าความดีทางวาจา ได้แก่
2.1 พูดแต่ความจริง
2.2 พูดแต่ค าที่ส่งเสริมความสามัคคี ช่วยให้คนที่แต่กร้าวกันคืนดีกัน
2.3 พูดแต่ค าสุภาพอ่อนหวาน ไม่พูดค าหยาบ
2.4 พูดแต่ค าที่มีสาระ มีประโยชน์ พูดให้ถูกกาลเทศะ