Page 25 - (Final) A MIL Survey in Thailand 2019 20190130 TH (MINI)-Edit
P. 25
25
การรูเทาทันสื่อและสารสนเทศและการเขาใจดิจิทัลเปนเรื่องที่ทุกประเทศใหความสําคัญ
ในการวัดเพื่อดําเนินการพัฒนาประชาชนของตนเองใหมีศักยภาพทางดานดิจิทัล เนื่องดวย
เปนเปาหมายที่จะทําใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน (SDGs) UNESCO จึงมีการจัดทํากรอบการ
9
อางอิงตัวชี้วัดการสํารวจสมรรถนะการเขาใจดิจิทัล 4.4.2 ซึ่งประเทศในทวีปเอเชียมีการใช
กรอบการวัดทั้งรูปแบบที่เปนของประเทศ และกรอบในระดับองคกร ซึ่งสามารถแสดงถึงทักษะ
ความสามารถ และการเขาใจดิจิทัลของประเทศไทย เปรียบเทียบในระดับสากลได
โดยจากผลสํารวจสถานภาพการเขาใจดิจิทัล ป พ.ศ. 2552 (Digital Literacy Report
10
2009) โดย ECDL Foundation มีการเก็บสํารวจสถานภาพ “การเขาใจดิจิทัล” และ
“การรูเทาทันสื่อและสารสนเทศ” จากกลุมตัวอยางที่ใชอินเทอรเน็ตในชีวิตประจําวัน จํานวน
8,000 คน เปนภาษาทั้งหมด 14 ภาษา ครอบคลุมประเทศกลุมยุโรป เอเชีย แอฟริกา
และอเมริกาใต มีเกณฑการวัดระดับสมรรถนะ ไดแก คะแนนมากกวา 91 คะแนน ขึ้นไป
อยูในระดับที่มีการเขาใจดิจิทัล คะแนนอยูระหวาง 91 ถึง 70 คะแนน อยูในระดับที่มีทักษะ
พื้นฐานทางดานดิจิทัล และ คะแนนต่ํากวา 70 คะแนน อยูในระดับที่ขาดสมรรถนะพื้นฐาน
ดิจิทัล ซึ่งประเทศไทยมีผูเขารับการทดสอบสมรรถนะดิจิทัลตามเกณฑของ ECDL มีผูไดระดับ
การเขาใจดิจิทัล สัดสวนรอยละ 52 ไดระดับทักษะพื้นฐานทางดานดิจิทัล สัดสวนรอยละ 48
โดยไมมีผูที่ไดระดับขาดสมรรถนะพื้นฐานทางดานดิจิทัล แตเมื่อเปรียบเทียบผูเขารับการ
ทดสอบชาวกัมพูชามีที่ไดในระดับการเขาใจดิจิทัล ที่มีสัดสวนรอยละ 83 และชาวฮองกง
ที่มีสัดสวนรอยละ 63 ซึ่งมากกวาชาวไทยรอยละ 31 และ 9 ตามลําดับ โดยจากสถานภาพปจจุบัน
ที่มีการสํารวจสถานภาพการรูเทาทันสื่อและสารสนเทศ และการเขาใจดิจิทัลของประเทศไทย
ป พ.ศ. 2562 มีจํานวนผูตอบแบบสํารวจ 12,374 คน พบวาสถานภาพการรูเทาทันสื่อและ
สารสนเทศ อยูในระดับดีมาก รอยละ 9.2 หรือจํานวน 1,132 คน และการเขาใจดิจิทัล
อยูในระดับดีมาก รอยละ 10.7 หรือจํานวน 1,320 คน
9 A Global Framework of Reference on Digital Literacy Skill for Indicator 4.4.2 | UNESCO
10 ขอมูลจาก Digital Literacy Report 2009, ECDL Foundation