Page 22 - (Final) A MIL Survey in Thailand 2019 20190130 TH (MINI)-Edit
P. 22

22





            ลดลงจากปกอน รอยละ 3 ประชาชนไทยมีแนวโนมที่หันมาใชงานผานอุปกรณโทรศัพทเคลื่อนที่

            มากขึ้นถึง 55.5 ลานคน เติบโตมากถึงรอยละ 69 จากป พ.ศ. 2560 และมีการใชงานแท็บเล็ต
            เพิ่มมากขึ้นอีกจํานวน รอยละ 3 ซึ่งเห็นไดชัดเจนวาประชาชนไทยมีการเขาถึงอุปกรณดิจิทัล

            มากขึ้น สงผลใหชองวางทางดานดิจิทัลลดลง ตลอดจนสงเสริมคุณภาพชีวิตใหกับชุมชน

            ใหดียิ่งขึ้นได ดังนั้น จากการวัดสมรรถนะดานการเขาถึงสื่อและสารสนเทศ ในตัวชี้วัด

            การใชเครื่องมือที่มีความหลากหลายและเหมาะสม ประกอบดวย อุปกรณในการเขาถึงสื่อ

            เชน สมารทโฟน แลปท็อป คอมพิวเตอร แท็ปเล็ต และ ชองทางการเขาถึงสื่อและสารสนเทศ
            เชน เว็บไซต เครื่องมือคนหาขอมูล แหลงเรียนรูออนไลน เปนตน ซึ่งแสดงสถานภาพ

            การใชเครื่องมือที่มีความหลากหลาย มีผลคะแนนเฉลี่ย 46.2 คะแนน ซึ่งอยูในระดับปรับปรุง

            ดวยพฤติกรรมการใชงานอุปกรณสมารทโฟนเพิ่มมากขึ้น โดยมีการใชงานเครื่องมือคนหา

            จาก Google เปนหลัก จึงจะตองมีการสรางกิจกรรมเพื่อเปดชองทางการรับรูและ

            การใชประโยชนจากอุปกรณดิจิทัลเพื่อการบริโภคสื่อที่มีคุณภาพ เชน ชองทางการเรียนรูแบบเปด

            (Massive Open Online Course : MOOC) เพื่อเขาสูการพัฒนาตนเองอยางยั่งยืน (Life Long

            Learning) และสรางผูมีความรู ความเชี่ยวชาญ กาวสูการพัฒนานวัตกรรมของประเทศตอไป

































            สมมติฐานที่ 3 ประชาชนไทยมีความสามารถในการเขาถึงสื่อบนอินเทอรเน็ต และมีการ


            แสดงออกอยางสรางสรรค มีสวนรวมในดานสังคมและการเมือง
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27