Page 3 - (Final) A MIL Survey in Thailand 2019 20190130 TH (MINI)-Edit
P. 3

3



                                                          คํานํา





                       สถานภาพการรูเทาทันสื่อและสารสนเทศของประเทศไทย ประจําป พ.ศ. 2562 สํารวจโดย
               สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สดช.) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ

               และสังคม โดยการสํารวจนี้ ประกอบไปดวยการสํารวจการรูเทาทันสื่อและสารสนเทศ (Media and

               Information Literacy) ตามกรอบการประเมินการรูเทาทันสื่อและสารสนเทศขององคการการศึกษา

               วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and

               Cultural Organization : UNESCO) และการเขาใจดิจิทัล (Digital Literacy) ตามกรอบสมรรถนะ
               การเขาใจดิจิทัลของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม


                       จากกรอบการสํารวจดังกลาว ไดกําหนดตัวชี้วัดเพื่อการประเมินสมรรถนะ จํานวน 12 ตัวชี้วัด

               และไดมีการจัดทําชุดคําถามสําหรับเก็บขอมูลแบงออกเปน 2 สวน คือ พฤติกรรมการใชงาน

               สื่อ สารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัล และขอมูลความรู ความเขาใจ และความสามารถ เพื่อประเมิน
               สมรรถนะที่สามารถแสดงใหเห็นถึงสถานภาพปจจุบันของประเทศไทย ทั้งในระดับภาพรวมของประเทศ

               ระดับภูมิภาค และระดับจังหวัด ทั้งนี้ เพื่อเปนขอมูลประกอบการวิเคราะห กําหนดนโยบาย แนวทาง

               มาตรการ และวางแผนพัฒนาประชาชนใหพรอมกาวสูการเปนพลเมืองดิจิทัล เพื่อใหทุกภาคสวนของ
               ประเทศไทยมีสวนรวมในเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล ตามนโยบายของรัฐบาล ที่จะขับเคลื่อนเศรษฐกิจ

               และสังคมดวยนวัตกรรมเพื่อกาวไปสูการเปนประเทศที่พัฒนา


                       ผลการดําเนินการสํารวจจากตัวแทนประชาชนไทย จํานวน 12,374 คน ครอบคลุม 77 จังหวัด

               ทั่วประเทศ พบวามีคะแนนเฉลี่ยสถานภาพการรูเทาทันสื่อและสารสนเทศของประเทศไทยอยูที่ 68.1
               คะแนน และมีคะแนนเฉลี่ยสถานภาพการเขาใจดิจิทัลอยูที่ 64.5 คะแนน โดยมีพฤติกรรมในการใชงาน

               เทคโนโลยีดิจิทัล และการเปดรับสื่อ และสารสนเทศ ที่สะทอนตอตัวชี้วัดตางๆ ประกอบดวย ประชาชน

               มีการบริโภคสื่อและสารสนเทศผานอุปกรณสมารทโฟน มากถึง รอยละ 99.4 ประชาชนสวนใหญมีการ

               ใชงานอินเทอรเน็ตมากที่สุด วันละ 3-4 ชั่วโมง มากถึง รอยละ 25.3 โดยจะใชงานอินเทอรเน็ตแบบ
               จายคาบริการ มากถึง รอยละ 85.8 และใชงานเฉพาะอินเทอรเน็ตแบบไมมีคาบริการเพียงอยางเดียว

               รอยละ 14.1 มีการใชงานอินเทอรเน็ตเพื่อเปดรับสื่อผานแหลงที่มาชนิดตางๆ 3 อันดับสูงสุด

               คือ สื่อสังคมออนไลน เว็บไซต และโทรทัศนดิจิทัล ซึ่งมีการนําสื่อจากชองทางอินเทอรเน็ตไปใชในการ

               พัฒนาตนเอง การดําเนินชีวิตประจําวัน และการพัฒนาอาชีพ ดังนั้นรายงานผลสํารวจการรูเทาทันสื่อ
               และสารสนเทศของประเทศไทย ประจําป พ.ศ. 2562 นี้ จะสามารถสะทอนสถานภาพการรูเทาทันสื่อ

               และสารสนเทศ และการเขาใจดิจิทัลของประชาชนไทย สูการกําหนดแนวทางการพัฒนาศักยภาพ

               ประชาชนไทย ใหขับเคลื่อนสูเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล เพื่อใหประเทศไทยกาวสูการเปนเศรษฐกิจและ

               สังคมดิจิทัลที่สมบูรณ ตอไป
   1   2   3   4   5   6   7   8