Page 38 - C:\Users\YUT_THAPAKORN\Desktop\รายงานประจำปี\
P. 38
หน้ำ 35
การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ
สถานการณ์โรค/วิเคราะห์ข้อมูล
องค์กำรอนำมัยโลกได้ก ำหนดกลไกในกำรติดตำมควำมก้ำวหน้ำของกำรด ำเนินกำรตำมกฎอนำมัย
ระหว่ำงประเทศ พ.ศ.2548 ของประเทศสมำชิก โดยใช้คู่มือ International Health Regulations (2005)
Joint External Evaluation Tool ; IHR-JEE,2016 ซึ่งประเทศไทยได้รับกำรประเมินเมื่อช่วงวันที่ 26-30
มิถุนำยน 2560 ที่ผ่ำนมำนั น องค์กำรอนำมัยโลกได้มีข้อแนะน ำเรื่องกำรด ำเนินกำรพัฒนำเจ้ำหน้ำที่ให้
สำมำรถในกำรเฝ้ำระวังโรคตำมเหตุกำรณ์ ณ ช่องทำงเข้ำออกประเทศ ให้เป็นประเด็นจ ำเป็นที่ต้องได้รับกำร
พัฒนำให้ดีขึ นไป
ซึ่งปี 2561 นั น นับได้ว่ำเป็นปีที่ดีแห่งกำรเริ่มต้นกำรจัดอบรมให้กับเจ้ำหน้ำที่ด่ำนควบคุมโรคติดต่อ
ระหว่ำงประเทศ หลังจำกที่ประเทศไทยได้ประกำศใช้พระรำชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 ที่ช่วยสนับสนุนให้
กำรท ำงำนด้ำนสำธำรณสุข ไม่ว่ำจะเป็นเรื่องของกำรเฝ้ำระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคต่ำงๆ ง่ำยขึ นและ
สอดรับกับกำรเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน จะเห็นได้ว่ำในทุก ๆ วันกำรพัฒนำของโลก เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม และ
วิวัฒนำกำรในด้ำนต่ำงๆนั น มีกำรพัฒนำไปอย่ำงรวดเร็ว รวมทั งเชื อโรคและเชื อไวรัสต่ำงๆที่ก่อโรคในมนุษย์
ก็เช่นกันที่มีกำรพัฒนำตัวมันเองเพื่อให้อยู่รอดต่อกำรเปลี่ยนแปลงใน ภำวะโลกร้อน ภัยพิบัติ ที่มำกขึ น จึงส่งผล
ให้ในปัจจุบันมีโรคติดต่อที่เป็นอันตรำยกับมนุษย์มำกขึ น ซึ่งบำงโรคเป็นโรคที่ไม่เคยเกิดขึ นมำก่อน และมีควำม
รุนแรงสูงคร่ำชีวิตมนุษย์ไปไม่น้อยโดยใช้เวลำเพียงไม่กี่วัน และเกิดกำรระบำดอย่ำงรวดเร็วจำกทวีปสู่ทวีป
แม้กระทั่งระบำดไปทั่วโลกก็เคยเกิดให้เห็นแล้ว โลกในปัจจุบันเป็นกำรติดต่อสื่อสำรแบบไร้พรมแดน
กำรเดินทำงจำกทวีปยุโรปมำทวีปเอเชียใช้เวลำไม่ถึง 24 ชั่วโมง จึงเป็นปัจจัยที่สนับสนุนให้เกิดกำรระบำดของ
เชื อโรคต่ำงๆ
ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งในมรดกโลก มีสถำนที่ท่องเที่ยวและธรรมชำติที่สวยงำม
ที่ชำวต่ำงชำติต่ำงชื่นชม อำหำรรสชำติอร่อย และมีวัฒนธรรมอันทรงคุณค่ำ อีกทั งค่ำครองชีพไม่สูง
จึงเปรียบเสมือนสวรรค์ของนักท่องเที่ยวทั่วโลกที่เป็นแรงดึงดูดให้ใครๆก็อยำกเดินทำงมำประเทศไทย กำร
ท่องเที่ยวจึงเป็นแหล่งรำยได้หลักของเศรษฐกิจกำรและกำรเงินของประเทศไทย แต่ก็ต้องยอมรับว่ำผู้คนที่
หลำกหลำยเชื อชำติที่เดินทำงมำนั น อำจน ำเชื อโรคที่ไม่เคยมีติดตัวมำด้วยและมำแพร่กระจำยให้กับประชำชน
คนไทย ดังนั นกำรมีด่ำนควบคุมโรคติดต่อระหว่ำงประเทศ (ด่ำนฯ) ที่เข้มแข็ง มีเจ้ำหน้ำที่ด่ำนฯที่มีศักยภำพ
ในกำรท ำงำนเฝ้ำระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค เป็นด่ำนฯ ทัพหน้ำที่มีมำตรฐำนตำมที่สำกลก ำหนดจึงเป็นเรื่อง
จ ำเป็นอย่ำงยิ่ง อีกทั งเพื่อให้สอดคล้องกับพระรำชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 ซึ่งมีประกำศกรมควบคุมโรค
เรื่องหลักสูตรส ำหรับกำรฝึกอบรมส ำหรับผู้ที่จะได้รับกำรแต่งตั งให้เป็นเจ้ำหน้ำที่หน่วยปฏิบัติกำรควบคุม
โรคติดต่อ
ผลการด าเนินงาน
มาตรการส าคัญ
CDCU – BORDER เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ส ำนักโรคติดต่อทั่วไป โดยกลุ่ม
โรคติดต่อระหว่ำงประเทศ และส ำนักระบำดวิทยำจึงร่วมกันจัดอบรมพัฒนำศักยภำพเจ้ำหน้ำที่หน่วยปฏิบัติกำร
ควบคุมโรคติดต่อ (CDCU- BORDER) ให้กับเจ้ำหน้ำที่ด่ำนควบคุมโรคติดต่อระหว่ำงประเทศ ให้สำมำรถ