Page 55 - C:\Users\YUT_THAPAKORN\Desktop\รายงานประจำปี\
P. 55
หน้ำ 52
ซึ่งเป็นขั นตอนกระบวนกำรของสภำพัฒน์ฯ โดยเสนอผ่ำนคณะอนุกรรมกำรด้ำนพัฒนำเสริมสร้ำงศักยภำพทุน
มนุษย์และกำรสร้ำงโอกำสควำมเสมอภำคทำงสังคม ภำยใต้คณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชำติ โดยมีมติเห็นขอบในหลักกำร ก่อนเสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำให้ควำมเห็นชอบในล ำดับต่อไป
สรุปผลกำรขับเคลื่อนกำรด ำเนินงำนตำมพระรำชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 ปี 2561
2.การควบคุมวัณโรคดื อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก (Extensive drug resistant tuberculosis,
XDR-TB)
กำรควบคุมวัณโรคดื อยำหลำยขนำนชนิดรุนแรงมำก (Extensive drug resistant tuberculosis,
XDR-TB) เป็นควำมพยำยำมของส ำนักวัณโรคในกำรเสนอมำตรกำรทำงกฎหมำยเพื่อกำรจัดกำรกับวัณโรค
โดยเฉพำะวัณโรคดื อยำหลำยขนำนชนิดรุนแรงมำก ซึ่งมีอุบัติกำรณ์กำรเกิดโรคสูง ประเทศไทยติดอันดับใน
กลุ่ม 14 ประเทศที่มีปัญหำวัณโรคสูง ทั งวัณโรค (TB) วัณโรคที่มีกำรติดเชื อเอชไอวีร่วมด้วย (TB/HIV) และวัณ
โรคดื อยำหลำยขนำน (Multidrig-resistant tuberculosis, MDR-TB) และประมำณ ร้อยละ 5-10 ของ
MDR-TB เป็นวัณโรคดื อยำหลำยขนำนชนิดรุนแรงมำก (Extensive drug resistant tuberculosis, XDR-TB)
กำรรักษำวัณโรคดื อยำหลำยขนำน มีควำมยุ่งยำกและค่ำใช้จ่ำยสูงกว่ำกำรรักษำวัณโรค และมีผลส ำเร็จของกำร
รักษำน้อยกว่ำ ต้องใช้ระยะเวลำอย่ำงน้อย 20 เดือน มีค่ำใช้จ่ำยค่ำยำสูงถึง รำยละ 1.2 ล้ำนบำท
กำรใช้มำตรกำรทำงกฎหมำย เป็นหนึ่งในแผนปฏิบัติกำรระดับชำติด้ำนกำรต่อต้ำนวัณโรค เพื่อ
ส่งเสริมกำรใช้กฎหมำยในกำรควบคุมวัณโรค โดยกฎหมำยที่ส ำคัญคือ พระรำชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558
ซึ่งกฎหมำยได้ก ำหนดให้บุคคลต้องแจ้งต่อเจ้ำพนักงำนควบคุมโรคติดต่อในพื นที่เมื่อพบผู้ป่วยหรือผู้มีเหตุอัน
ควรสงสัยว่ำป่วยด้วยโรคติดต่ออันตรำย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้ำระวังหรือโรคระบำด และให้อ ำนำจแก่เจ้ำพนักงำน
ควบคุมโรคติดต่อในกำรด ำเนินกำรป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ โดยให้บุคคลที่ป่วยหรือสงสัยว่ำป่วยมำรับกำร
ตรวจรักษำ หรือรับกำรชันสูตรทำงกำรแพทย์ และเพื่อควำมปลอดภัย อำจด ำเนินกำรโดยกำรแยกกัก กักกัน
หรือคุมไว้สังเกต ณ สถำนที่ที่ก ำหนด อย่ำงไรก็ตำม ในประกำศกระทรวงสำธำรณสุข เรื่อง ชื่อและอำกำร
ส ำคัญของโรคติดต่ออันตรำย 12 โรค ชื่อและอำกำรส ำคัญของโรคติดต่อที่ต้องเฝ้ำระวัง 57 โรค มีวัณโรคเป็น