Page 53 - C:\Users\YUT_THAPAKORN\Desktop\รายงานประจำปี\
P. 53

หน้ำ 50



                            การขับเคลื่อนการด าเนินงานตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ


                                                        พ.ศ. 2558


                  สถานการณ์โรค/วิเคราะห์ข้อมูล


                         กำรตรำพระรำชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 มีเป้ำประสงค์ส ำคัญ คือ เฝ้ำระวัง กวำดล้ำง ก ำจัด
                  ควบคุมโรคติดต่อส ำคัญของประเทศ ด้วยระบบและเครือข่ำยกำรท ำงำนที่เข้มแข็ง และกำรมีส่วนร่วมของ
                  ประชำชน มีควำมเชื่อมโยงและยั่งยืน โดยกำรใช้กฎหมำยเป็นเครื่องมือในกำรจัดกำรกับโรคติดต่อและภัย

                  สุขภำพ พระรำชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 ได้ประกำศลงในรำชกิจจำนุเบกษำ และมีผลบังคับใช้ ตั งแต่
                  วันที่ 6 มีนำคม 2559 เป็นต้นมำ กำรขับเคลื่อนกำรด ำเนินงำนตำมพระรำชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558
                  ในช่วง 3 ปีที่ผ่ำนมำ (ปี 2559-2561) ในระดับชำติ ได้มีกำรประชุมคณะกรรมกำรโรคติดต่อแห่งชำติ
                  คณะกรรมกำรด้ำนวิชำกำร เพื่อให้ค ำแนะน ำแก่รัฐมนตรีในกำรประกำศเขตติดโรค และให้ค ำแนะน ำแก่อธิบดี

                  ในกำรประกำศโรคระบำด นอกจำกนี  คณะกรรมกำรได้แต่งตั งคณะอนุกรรมกำรด้ำนกฎหมำย เพื่อกลั่นกรอง
                  กฎหมำยล ำดับรองที่ต้องออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรคติดต่อ  โดยมีอนุบัญญัติที่ประกำศในรำชกิจจำ
                  นุเบกษำ และมีผลใช้บังคับแล้ว ทั งสิ น 16 ฉบับ โดยมีอนุบัญญัติที่ส ำคัญ ได้แก่ ชื่อและอำกำรส ำคัญ ของ
                  โรคติดต่ออันตรำย จ ำนวน 12 โรค และเพิ่มเติม 1 โรค คือ วัณโรคดื อยำหลำยขนำนชนิดรุนแรงมำก (XDR-

                  TB) , ชื่อโรคและอำกำรส ำคัญ ของโรคติดต่อที่ต้องเฝ้ำระวัง จ ำนวน 57 โรค และกำรแต่งตั งเจ้ำพนักงำน
                  ควบคุมโรคติดต่อตำมพระรำชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558
                         ในระดับจังหวัด ทุกจังหวัด รวมทั งกรุงเทพมหำนคร ได้แต่งตั งและประชุมคณะกรรมกำรโรคติดต่อ
                  จังหวัด/กรุงเทพมหำนคร และได้น ำกำรแก้ไขปัญหำโรคติดต่อในพื นที่จังหวัดเข้ำสู่กำรพิจำรณำของ

                  คณะกรรมกำรโรคติดต่อจังหวัด มีกำรจัดท ำแผนปฏิบัติกำรเฝ้ำระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ โรคติดต่อ
                  อันตรำย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้ำระวัง และโรคระบำด ในเขตพื นที่จังหวัด เสนอต่อคณะกรรมกำรโรคติดต่อจังหวัด
                  เพื่อพิจำรณำและร่วมกันด ำเนินกำรภำยใต้บริบทของแต่ละหน่วยงำนภำคีเครือข่ำยของจังหวัด โดยมีผู้ว่ำ

                  รำชกำรจังหวัด เป็นประธำน ในจังหวัดที่มีช่องทำงเข้ำออกระหว่ำงประเทศตำมที่รัฐมนตรีประกำศก ำหนด มี
                  กำรจัดตั งคณะท ำงำนประจ ำช่องทำงเข้ำออก และมีกำรจัดท ำแผนปฏิบัติกำรเฝ้ำระวัง ป้องกัน และควบคุม
                  โรคติดต่อระหว่ำงประเทศ รวมถึงกำรเตรียมควำมพร้อมรับสถำนกำรณ์ฉุกเฉินด้ำนสำธำรณสุข ซึ่งเป็นกำร
                  ด ำเนินกำรตำมที่กฎหมำยก ำหนดเช่นกัน
                         กำรด ำเนินงำนตำมพระรำชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 ยังไม่สำมำรถด ำเนินกำรได้อย่ำงเต็มรูปแบบ

                  อำจเนื่องจำก กฎหมำยล ำดับรอง ที่ต้องออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรคติดต่อ ยังด ำเนินกำรไม่แล้วเสร็จ
                  มีควำมยุ่งยำกในกำรก ำหนดรำยละเอียด หลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงื่อนไข ซึ่งต้องมีควำมชัดเจน ก่อนจะเสนอ
                  เป็นกฎหมำยได้ รวมถึง บุคลำกร ยังขำดควำมรู้ ควำมเข้ำใจในกำรใช้กฎหมำยเป็นเครื่องมือในกำรปฏิบัติงำน

                  ซึ่งจ ำเป็นต้องมีกำรสื่อสำร สร้ำงเสริมควำมรู้ควำมเข้ำใจ เพื่อให้กำรบังคับใช้กฎหมำยโรคติดต่อมีประสิทธิภำพ
                  ยิ่งขึ น

                  ผลการด าเนินงาน
                         ในปี 2561 กำรขับเคลื่อนพระรำชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 คณะกรรมกำรโรคติดต่อแห่งชำติ
                  ได้เห็นชอบให้ประกำศก ำหนดให้วัณโรคดื อยำหลำยขนำนชนิดรุนแรงมำก (XDR-TB) เป็นโรคติดต่ออันตรำย มี
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58