Page 280 - Liver Diseases in Children
P. 280

270      โรคตับในเด็ก




              pthaigastro.org
                                                           ็
                   ้
                          27
            โรคท่อน�าดีตีบตัน แพทย์ควรพิจารณาอย่างถ่ถ้วน  กไม่ควรท�าการปลูกถ่ายตับ เน่องจากผู้ป่วยอาจมีการ
                                                   ี
                                                                                   ื
                                 ื
                                      ี
                                     ิ
                           ิ
                                                     ั
            ระหว่างการตัดสนใจเลอกวธรกษาแบบประคบ           ท�างานของสมองผิดปกติอย่างถาวร หรือการท�างาน
                                       ั
            ประคองเพื่อรอให้ตับฟื้นกลับมาเอง หรือรักษาด้วย  ของอวัยวะอื่น ๆ ผิดปกติอย่างรุนแรงหลังการปลูก
                          ึ
                                              ึ
            การปลูกถ่ายตับ ซ่งการพิจารณาวิธีรักษาข้นกับหลาย  ถ่ายตับ 2
            ปัจจัย เช่น สาเหตุและความรุนแรงของภาวะตับวาย  กำรปลูกถ่ำยเซลล์ตับ (hepatocyte
            เฉียบพลัน ความเป็นไปได้ที่ตับฟื้นกลับมาปกติเอง   transplantation)
            การรักษาจ�าเพาะของโรคที่ทาให้เกิดตับวายเฉียบพลัน
                                  �
                      ี
            และความเส่ยงของความพิการทางสมองอย่างถาวร           อาจมีประโยชน์ระหว่างรอการปลูกถ่ายตับ


            ผู้ป่วยที่มีโอกาสสูงที่ตับจะกลับมาท�างานได้เอง   ช่วยรักษาประคับประคองทางด้านเมแทบอลิก และอาจ
            หรือเป็นโรคที่มีการรักษาจ�าเพาะกไม่ควรพิจารณา   ทดแทนการปลูกถ่ายตับได้ในโรคทางเมแทบอลิก
                                         ็
                                                                                           ิ
            ปลูกถ่ายตับฉุกเฉินเร็วเกินไป โรควิลสันและตับวาย  บางชนิด  แต่ยังต้องรอการศึกษาเพ่มเติมต่อไป
            เฉียบพลันทีไม่รู้สาเหตุมีพยากรณ์โรคไม่ดี      ปัจจุบันท�าได้เพียงบางแห่งในต่างประเทศเท่านั้น
                       ่
            จึงควรรักษาด้วยการปลูกถ่ายตับ ส่วนตับวายจาก กำรพยำกรณ์โรค
            ไวรัสตับอักเสบเอ และ acetaminophen มีพยากรณ์       เกณฑ์ที่น�ามาใช้พยากรณ์โรคควรช่วยในการ
            โรคดี เซลล์ตับมักสามารถเจริญทดแทนเซลล์ตับ     ตัดสินใจเลือกการรักษาด้วยการปลูกถ่ายตับตั้งแต่ใน
            ที่ตาย (liver cell regeneration) ได้ จึงมีโอกาสรอด  ระยะแรก ๆ ในผู้ป่วยที่มีโอกาสเสียชีวิตสูง หรือเลือก
            ชีวิตสูงโดยไม่ต้องปลูกถ่ายตับ                 การรักษาด้วยการประคับประคองในผู้ป่วยที่มีโอกาส
                 การใช้ split liver grafts (ตับจากผู้บริจาค  รอดชีวิตสูง  มีความพยายามใช้เกณฑ์ในการ

            สมองตาย 1 คนแบ่งให้ผู้ป่วย 2 คน) หรือ living   พยากรณ์โรคเพ่อช่วยในการตัดสินใจเลือกวิธีการ
                                                                        ื
            related donors (ตับจากผู้บริจาคที่ยังมีชีวิตและเป็น  รักษา เช่น King’s College Hospital Criteria (KCH

            ญาติกับผู้ป่วย) ช่วยลดอัตราตายในผู้ป่วยเด็กที่เป็น  criteria), Clichy-Villejuif Criteria ในผู้ใหญ่ และ
            ตับวายเฉียบพลันได้อย่างมาก การท�า auxiliary   Liver Injury Unit (LIU) score ในเด็ก  (ตารางที่ 14.8)
                                                                                      28,29
            transplantation (ใส่ตับจากผู้บริจาคให้ผู้ป่วยโดยไม่  แต่การใช้เกณฑ์พยากรณ์โรคของผู้ใหญ่อาจไม่
                                                                            ื
            ตัดตับของผู้ป่วยออก) มีประโยชน์ในกลุ่มโรคทาง  เหมาะสมในเด็ก เน่องจากการวินิจฉัยอาการทาง
            เมแทบอลิกบางชนิดที่ไม่มีตับแข็ง 5             สมองโดยเฉพาะในเด็กเล็ก  รวมทั้งสาเหตุ  การ

                 ข้อห้ามของการปลูกถ่ายตับ ได้แก่ โรคมะเร็ง  ด�าเนินโรค และผลการรักษาตับวายเฉียบพลันในเด็ก
            เช่น มะเร็งเม็ดเลือดขาว lymphohistiocytosis  มีความแตกต่างจากผู้ใหญ่

            เป็นต้น โรค Reye syndrome และ mitochondrial        การศึกษาของ  PALF  study  group
            respiratory chain disorders ที่มีความผิดปกติของ  ในกลุ่มเด็กตับวายเฉียบพลันจากสาเหตุอื่นทีไม่ใช่
                                                                                                ่
            ระบบประสาท ผป่วยทีมีความดันสงในกะโหลกศรษะ     acetaminophen พบว่าผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์เสียชีวิต
                              ่
                                        ู
                         ู้
                                                   ี
            รุนแรง หรืออวัยวะล้มเหลวหลายระบบอย่างรุนแรง   จากการประเมินด้วย KCH criteria เสียชีวิตจริง
   275   276   277   278   279   280   281   282   283   284   285