Page 23 - เนื้อหา
P. 23
1.1 การจ าหน่ายหุ้นทุนช าระค่าหุ้นเป็นเงินสด
1.2 การจ าหน่ายหุ้นทุนช าระค่าหุ้นในลักษณะอื่นๆ คือ
1.2.1 ช าระค่าหุ้นทุนด้วยสินทรัพย์อื่นๆ
1.2.2 ช าระค่าหุ้นทุนด้วยการให้บริการต่างๆ
1.2.3 ช าระค่าหุ้นทุนด้วยการโอนกิจการให้บริษัท
2. เรียกให้ช ำระค่ำหุ้นเป็นงวดๆ จ าหน่ายโดยการสั่งจองหุ้น
การจ าหน่ายหุ้นโดยการให้สั่งจองและช าระค่าหุ้นเป็นงวดๆ กฎหมายได้ก าหนดให้บริษัท
เอกชนจ ากัดเท่านั้นที่จะจ าหน่ายหุ้นทุนได้ในลักษณะนี้ และก าหนดให้จ าหน่ายได้ในราคาตามมูลค่า
หรือสูงกว่ามูลค่าได้ หากได้มีการก าหนดไว้ในหนังสือบริคณห์สนธิ แต่จะขายหุ้นในราคาต่ ากว่ามูลค่า
ไม่ได้ ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้มีเงินไม่มากสามารถลงทุนซื้อหุ้นได้ บริษัทจะก าหนดระยะเวลาจอง
การช าระค่าหุ้นและการออกหุ้นไว้ต่างกัน จึงแบ่งช าระค่าหุ้นได้เป็นงวดๆ ซึ่งจะเป็นกี่งวดนั้นขึ้นอยู่กับ
บริษัทจะก าหนดไว้ ตามกฎหมายไทยได้ก าหนดการเรียกช าระค่าหุ้นดังนี้
1. ผู้สั่งจองหุ้นจะต้องส่งใช้คราวแรกจะต้องไม่น้อยกว่า 25 % ของมูลค่าหุ้น
2. ถ้ามีจ านวนส่วนล้ ามูลค่าหุ้นจะต้องส่งใช้พร้อมกันกับการส่งใช้เงินคราวแรก
3. จ านวนค่าหุ้นที่เหลือต้องก าหนดให้ชัดเจนว่าจะให้ช าระกี่งวด
ตัวอย่าง บริษัทสีแดง จ ากัด ได้ออกหุ้นสามัญ 100 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ได้ออกให้จองใน
ราคา 110 บาท และที่เหลือช าระเป็น 3 งวดๆ ละเท่าๆ กัน
การช าระคราวแรกค านวณได้ดังนี้
มูลค่าหุ้น 100 บาท 25 % 25
บวก ส่วนล้ ามูลค่าหุ้น 10
35
ราคาหุ้นที่เหลือ (110 - 35) 75
ดังนั้น ค่าหุ้นที่ต้องช าระต่องวด (75 + 3) 25
3. วิธีกำรบันทึกบัญชีกำรจ ำหน่ำยหุ้นทุน
บริษัทจะบันทึกบัญชีอย่างไรนั้นจะต้องให้สอดรับกับวิธีการจ าหน่ายหุ้นทุนและราคาที่จ าหน่ายหุ้น
ทุน บัญชีทุนหุ้นบริษัทจะต้องบันทึกบัญชีตามราคาที่จดทะเบียนเสมอ จ านวนส่วนที่เกิดความแตกต่าง
ระหว่างมูลค่าหุ้นทุนที่จดทะเบียนกับเงินสดหรือมูลค่าอื่นๆ ที่บริษัทได้ช าระเป็นค่าหุ้นทุนจะบันทึก
ส่วนต่างไว้ในบัญชีส่วนเกินหรือส่วนต่ ามูลค่าหุ้นทุนนั้น
~ 19 ~