Page 37 - เนื้อหา
P. 37
2. กำรจัดสรรก ำไรสะสม (Retained Earnings Appropriation)
กำรจัดสรรก ำไรสะสม คือ การแยกก าไรสะสมส่วนหนึ่งออกมาจากก าไรสะสม ที่ยังมิได้จัดสรร
มาตั้งไว้ต่างหากเพื่อประโยชน์ของบริษัทเอง หรือตามข้อบังคับของกฎหมาย โดยมีวัตถุประสงค์ที่
ก าหนดโดยเฉพาะ ซึ่งก าไรสะสมในส่วนนี้ บริษัทจะน ามาจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ ในการจัดสรรก าไร
สะสมโดยการตั้งส ารองต่างๆ อาจจ าแนกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
1. การตั้งส ารองตามกฎหมาย ซึ่งกฎหมายได้ก าหนดไว้ว่า ถ้าบริษัทจ ากัดมีก าไรสุทธิ จะต้อง
จัดสรรก าไรสะสม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1202 ทุกครั้งที่ได้มีมติในที่ประชุม
ผู้ถือหุ้นให้ประกาศจ่ายเงินปันผล บริษัทจะต้องจัดสรรก าไรสะสมไว้เป็นทุนส ารองอย่างน้อย5% ของ
ก าไรสุทธิประจ าปี จนกว่าก าไรสะสมที่จัดสรรไว้เป็นทุนส ารองนั้น มีจ านวน 10% ของจ านวนทุนที่จด
ทะเบียนหรือมากกว่าที่กฎหมายก าหนด หากได้มีข้อบังคับของบริษัทก าหนดไว้มากกว่า
2. การตั้งส ารองตามข้อผูกพัน ซึ่งเป็นการตั้งตามมติของคณะกรรมการบริษัทให้จัดสรรก าไร
สะสมเพื่อเป็นหลักประกันแก่เจ้าหนี้หรือผู้ถือหุ้นกู้ โดยบริษัทจะต้องจัดสรรก าไรสะสมทุกวันสิ้นปี
ตลอดอายุของหุ้นกู้ หรือตลอดสัญญาของการเป็นหนี้ และในขณะเดียวกันบริษัทจะต้องมีการกันเงิน
สดไว้เท่ากับก าไรสะสมที่เท่ากัน เพื่อที่จะให้มีเงินสดเพียงพอที่จะไปช าระหุ้นกู้เมื่อวัน
3. การตั้งส ารองตามนโยบายของบริษัท ซึ่งเป็นการจัดสรรก าไรสะสมตามนโยบายของ
คณะกรรมการบริษัท โดยให้กันก าไรสะสมไว้ส่วนหนึ่งเพื่อวัตถุประสงค์ที่จะรักษาไว้ซึ่งเงินทุน
หมุนเวียนให้มีสภาพคล่องในอัตราที่สูง ในการด าเนินงานทั้งในปัจจุบันและอนาคต เช่น บริษัทให้กัน
ก าไรสะสมไว้ส าหรับค่าเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ส ารองเพื่อการขยายงาน ส ารองเพื่อ
ประกันภัยตนเอง เป็นต้น
~ 33 ~