Page 18 - กลุ่มคุณทองแดง
P. 18

บทที่ 4



                                                        สรุปผลโครงงาน




                         การศึกษาโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ“โครงการฝายชะลอน ้า” ผลการศึกษาปรากฏผลดังนี้


                 1.  ฝายชะลอน ้าหรือฝายแม้ว  คือ สิ่งก่อสร้างขวางหรือกั้นทางน ้า ซึ่งปกติมักจะกั้นล าห้วยล าธารขนาดเล็กใน

                 บริเวณที่เป็นต้นน ้าหรือพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงให้สามารถกักตะกอนอยู่ได้และหากช่วงที่น ้าไหลแรงก็

                 สามารถชะลอการไหลของน ้าให้ช้าลงและกักเก็บตะกอนไม่ให้ไหลลงไปทับถมล าน ้าตอนล่าง ซึ่งเป็นวิธีการ

                 อนุรักษ์ดินและน ้าได้ดีมากวิธีการหนึ่ง ปัจจุบันแรงผลักดันจากภาครัฐและเอกชนได้มีส่วนเกื้อหนุนในการ

                 สร้างฝายผ่านรูปแบบการสนับสนุนงบประมาณและมีส่วนร่วมด าเนินการก่อสร้างฝายโดยตรง รวมถึงการ

                 ด าเนินโครงการร่วมกันของหลายหน่วยงาน นอกจากนี้ ยังสร้างการตระหนักถึงความส าคัญของฝายให้แก่

                 ประชาชน อาทิ สร้างความชุ่มชื้น คืนความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ผืนป่า ลดความรุนแรงของกระแสน ้าหลากเป็น

                 แนวป้ องกันไฟป่าและสร้างความยั่งยืนให้แก่วิถีชีวิตโดยรอบ ทั้งคน สัตว์ และทรัพยากรธรรมชาติ


                   2.  ช่วยลดการชะล้างพังทลายของดิน และลดความรุนแรงของกระแสน ้าในลาธาร ท าให้ระยะเวลาการไหล

                 ของน ้าเพิ่มมากขึ้นความชุ่มชื้นเพิ่มขึ้น และแผ่ขยายกระจายความชุ่มชื้นออกไปเป็นวงกว้างในพื้นที่ทั้งสอง
                 ฝั่งของล าห้วย นอกจากนี้ ยังช่วยเพิ่มปริมาณน ้าใต้ดินบางส่วนด้วย ช่วยกักเก็บตะกอนและวัสดุต่างๆ ที่ไหล


                 ลงมากับน ้าในล าห้วยได้ดีเป็นการช่วยยืดอายุแหล่งน ้าตอนล่างให้ตื้นเขินช้าลง คุณภาพของน ้ามีตะกอน
                 ปะปนน้อยลงช่วยเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ และการทดแทนของสังคมพืชให้แก่พื้นที่โดยรอบท าให้

                 เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น ้าและใช้เป็นแหล่งน ้าเพื่อการอุปโภคบริโภคของมนุษย์และสัตว์ป่าต่างๆ

                 ตลอดจนนาไปใช้ในการเกษตรได้อีกด้วยช่วยลดความรุนแรงของการเกิดไฟป่าในฤดูแล้ง


                 3.  ประเภทฝายชะลอน ้าพอเพียงตามแนวพระราชด าริ แบ่งได้ 3 ประเภท (1) เป็นฝายชะลอน ้าฯ ชั่วคราว

                 สามารถดักตะกอนชะลอการไหลของน ้า และเพิ่มความชุ่มชื้นบริเวณรอบฝายได้เป็นอย่างดี วิธีการนี้

                 สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อยมาก หรืออาจไม่มีค่าใช้จ่ายเลย (2) เป็นฝายชะลอน ้าฯ แบบกึ่งถาวร สามารถดัก

                 ตะกอนและเก็บกักน ้าในช่วงฤดูแล้งได้บางส่วน (3) เป็นฝายชะลอน ้าฯ แบบถาวรสามารถดักตะกอนและเก็บ

                 กักน ้าในฤดูแล้งได้ดี


                 4.  ต าแหน่งที่ตั้งฝาย ควรเป็นร่องล าห้วย ที่มีพื้นที่เหนือน ้า สภาพตลิ่ง ณ ต าแหน่งที่ตั้งฝาย ด้านเหนือน ้าและ

                 ด้านท้ายน ้าจะต้องมีความสูงพอที่จะไม่ท าให้น ้าล้นข้าม ในร่องล าห้วยที่มีความลาดชันสูง สามารถกัก กรอง

                 น ้า ดักตะกอนที่จะไหลลงสู่ล าห้วยสาขาและล าห้วยหลักอย่างเพียงพอ ส ารวจสภาพพื้นที่ วัสดุที่จะใช้ในการ
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23