Page 19 - กลุ่มคุณทองแดง
P. 19
ก่อสร้าง สภาพล าน ้า ควรมีข้อมูล ระดับน ้า ปริมาณฝนในแต่ละฤดูกาล ควรเลือกต าแหน่งที่ตั้งที่มีความ
เหมาะสมควบคู่กับประโยชน์ที่จะได้รับสูงสุด
5. การก าหนดรูปแบบประเภทชั่วคราว ประกอบด้วย ฝายไม้ ฝายหิน ฝายดิน ประเภทกึ่งถาวร ฝายไม้แกน
หินยาแนวหรือแกนดินเหนียว ฝายกล่องลวดตาข่ายบรรจุหิน ฝายหินก่อหรือหินทิ้ง ประเภทถาวร ฝายหิน
เรียงยาแนว ฝายคอนกรีต ฝายคอนกรีตเสริมเหล็ก
6. การก่อสร้างฝายชะลอน ้า ควรส ารวจสภาพภูมิประเทศ หรือร่องล าน ้าที่เหมาะสมในการก่อสร้างก าหนด
ประเภทและเลือกรูปแบบ ส าหรับการก่อสร้างฝายชะลอน ้า สเก็ตซ์รูปแบบ ก าหนดขนาด สัดส่วน และ
ก าหนดวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างวางผังต าแหน่ง และการก่อสร้างฝายชะลอน ้าฯขั้นตอนการก่อสร้างฐานฝาย
และตัวฝาย เป็นไปตามรูปแบบ ขนาด วัสดุ ตามที่ก าหนดไว้
7. ฤดูน ้าหลากต้องเฝ้าระวังเศษกิ่งไม้ ตรวจสอบตัวฝายฯ ทุกๆ หลังฤดูน ้าหลาก หากมีความช ารุดเสียหาย ใน
กรณีที่เป็นฝายประเภทกึ่งถาวร หรือฝายถาวร ต้องท าการซ่อมแซม ปรับปรุง โดยใช้วัสดุที่เหมาะสมให้คง
สภาพเดิม ตรวจสอบการตะกอนด้านหน้าฝายหากมีปริมาณตะกอนมาก อาจขุดลอกออกบางส่วนเพื่อไม่ให้
เกิดการตื้นเขิน ต้องมีการตรวจสอบคุณภาพมีคุณภาพสะอาดไม่เน่าเสีย และต้องมีปริมาณเพียงพอต่อความ
ต้องการใช้ในภารกิจต่างๆในแต่ละช่วงอย่างสมบูรณ์ส าหรับฝายชะลอน ้าชั่วคราวที่มีการดูแลเป็นอย่างดีก็จะ
สามารถเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับป่ าต้นน ้า ควรมีการปลูกต้นไม้เพิ่มเติมโดยรอบบริเวณที่สร้างฝายเพื่อฟื้นฟู
ระบบนิเวศน์ของป่าต้นน ้าล าธาร
8. การประยุกต์ฝายชะลอน ้าได้แก่ ฝายชะลอน ้าวิธีประชารัฐ ศูนย์บรรเทาภัยแล้ง โครงการก่อสร้างส านักงาน
ชลประทานที่ 6 กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จ านวน 7 แบบ ฝายชะลอน ้าแกนดินเหนียว
ฝายมีชีวิต และฝายชะลอน ้าประยุกต์กึ่งถาวร
9. ผลลัพธ์ของการสร้างฝายชะลอน ้าไหล พบว่ามีส่วนช่วยให้เกิดความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชในล า
ห้วยมากกว่าไม่มีการสร้างฝาย นอกจากจะให้ความส าคัญกับการตรวจสอบคุณภาพน ้า โดยใช้แพลงก์ตอน
พืชเป็นดัชนีบ่งชี้คุณภาพน ้าแล้วผู้ด าเนินการโครงการยังให้ความส าคัญกับ การตรวจวัดความหลากหลายทาง
ชีวภาพของสรรพชีวิตที่อาศัยอยู่ในล าห้วยทั้งสองอีกด้วยเนื่องจากสังคมชีวิตในแหล่งน ้าจะเกิดความยั่งยืนได้
ก็ต่อเมื่อสังคมชีวิตนั้นๆ ต้องมีความแข็งแรง และความแข็งแรงของสังคมชีวิตจะเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเมื่อมีความ
หลากหลายของสรรพชีวิตภายในสังคม เพราะหากสังคมชีวิตมีความหลากหลาย ก็จะมีสิ่งมีชีวิตจ านวน
มากมายช่วยกันท าหน้าที่ในการอยู่ร่วมกันเพื่อจะได้อยู่รอดกันทั้งระบบ นอกจากนั้นยังช่วยพัฒนาแอ่งน ้า
ขนาดเล็กๆ ด้านหน้าฝาย ให้เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น ้าและสัตว์ป่าได้ใช้ประโยชน์ดื่มกินในฤดูแล้งอีกด้วย