Page 93 - 06_การปองกนและปราบปรามการทจรต_Neat
P. 93

๘๖




                          เพื่อประโยชนในการดําเนินการตามวรรคหนึ่งใหสํานักงานตํารวจแหงชาติ กรมสอบสวน
              คดีพิเศษและหนวยงานอื่นของรัฐที่เกี่ยวของทําความตกลงกับสํานักงาน โดยกําหนดขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

              ตาง ๆ รวมถึงการจัดทําสํานวนการสอบสวน การควบคุมตัว การปลอยชั่วคราว และการดําเนินการ
              อื่น ๆ เพื่อถือปฏิบัติรวมกัน

                          ในกรณีที่มีการกระทําความผิดทางอาญาอื่นที่มิใชการกระทําการทุจริตในภาครัฐรวมอยูดวย
              และคณะกรรมการ ป.ป.ท. เห็นวา หากใหพนักงานสอบสวนดําเนินคดีไปตามอํานาจหนาที่จะเปน

              ประโยชนกวา จะสงเรื่องคืนใหพนักงานสอบสวนภายในสามสิบวันนับแตวันที่คณะกรรมการ ป.ป.ท.
              ไดรับเรื่อง และขอใหพนักงานสอบสวนดําเนินการตามอํานาจหนาที่ตอไปก็ได โดยใหนําขั้นตอนและ

              วิธีปฏิบัติตาง ๆ ทั้งหมดที่ไดกําหนดไวตามวรรคสองมาใชบังคับโดยอนุโลม และใหคณะกรรมการ
              ป.ป.ท. สั่งจําหนายเรื่องนั้น ในกรณีนี้ถาคณะกรรมการ ป.ป.ท. เห็นสมควรจะแจงผูบังคับบัญชาของ

              เจาหนาที่ของรัฐผูถูกกลาวหาเพื่อดําเนินการตามอํานาจหนาที่ตอไปดวยก็ได [๑๑]
                                      [ñò]
                          ÁÒμÃÒ óð/ñ   ในกรณีที่พนักงานสอบสวนไดสงเรื่องใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. ตาม
              มาตรา ๓๐ โดยไดมีการควบคุมตัวผูถูกกลาวหาไวแลว ใหพนักงาน ป.ป.ท. มีอํานาจควบคุมและ

              พิจารณาสั่งคํารองขอปลอยชั่วคราวผูถูกกลาวหาที่ถูกควบคุมตัวนั้นไดเชนเดียวกับพนักงานสอบสวน
              ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

                          การปลอยชั่วคราวตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
              กําหนด

                          ในกรณีที่จําเปนตองควบคุมตัวผูถูกกลาวหาไวเพื่อประโยชนในการไตสวนขอเท็จจริง
              หรือการฟองคดี พนักงาน ป.ป.ท. อาจยื่นคํารองขอหมายขังผูถูกกลาวหาตอศาลได หากกรณีที่มี

              การควบคุมตัวผูถูกกลาวหาไวในอํานาจของศาลแลว ใหพนักงาน ป.ป.ท. มีอํานาจขอใหศาลควบคุมตัว
              ผูถูกกลาวหาไวไดตอไป โดยใหมีอํานาจหนาที่เชนเดียวกับพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมาย

              วิธีพิจารณาความอาญา หรือพนักงานอัยการ แลวแตกรณี
                          ÁÒμÃÒ óñ  เรื่องที่พนักงานสอบสวนสงมายังคณะกรรมการ ป.ป.ท. ตามมาตรา ๓๐

              ถาคณะกรรมการ ป.ป.ท. พิจารณาแลวเห็นวาเปนกรณีดังตอไปนี้ ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. สงเรื่อง
              กลับไปยังพนักงานสอบสวนเพื่อดําเนินการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาตอไป

                          (๑)  เรื่องที่ไมใชกรณีตามมาตรา ๒๓
                          (๒)  เรื่องที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. ตองหามมิใหรับหรือพิจารณาตามมาตรา ๒๖ (๑) (๒)

              และ (๓)
                          (๓)  เรื่องที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. ตองหามมิใหรับหรือพิจารณาตามมาตรา ๒๖ (๔)
                          ในกรณีตาม (๑) และ (๓) ถาเปนเรื่องที่อยูในอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช.

              ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. สงเรื่องใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาดําเนินการตอไป
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98