Page 55 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 55

๔๖




                             ๑.๔  พี่นองรวมแตบิดา หรือพี่นองรวมแตมารดาของเจามรดก (หรือที่เรียกลูกติด
              พอลูกติดแม)

                             ๑.๕  ปู ยา ตา ยาย ของเจามรดก หมายถึง ปู ยา ตา ยาย ของเจามรดกจริง ๆ
              ไมใชเปนแตเพียงนับถือวาเปนญาติ

                             ๑.๖  ลุง ปา นา อา ของเจามรดก หมายถึง ลุง ปา นา อา ของเจามรดกจริง ๆ ไมใช
              แตเพียงเรียกวา ลุง ปา นา อา

                          ò. ¼ÙŒÃѺ¾Ô¹Ñ¡ÃÃÁ
                             ผูรับพินัยกรรม หมายถึง ผูที่มีชื่อปรากฏในพินัยกรรมที่เจาของมรดกมีเจตนา

              ยกทรัพยให ในกรณีที่ผูตายประสงคที่จะใหญาติของตนไมไดรับ หรือไดรับมรดกในสัดสวนที่ไมเทากัน
              หรือตองการใหบุคคลอื่นที่ไมใชญาติมามีสวนรับมรดกของตน ทําไดโดยการทําพินัยกรรมระบุไววา

              จะยกทรัพยสินใดใหแกใครบาง เปนจํานวนเทาไร ซึ่งผูรับมรดกตามพินัยกรรมนี้ เรียกวา ผูรับพินัยกรรม
              ซึ่งอาจจะเปนบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลก็ได

                             การทําพินัยกรรมจะตองเปนลายลักษณอักษร เปนหนังสือพินัยกรรม ซึ่งมีแบบพิธี

              ในการทํา ๓ แบบดังนี้
                             ๒.๑  พินัยกรรมธรรมดา เปนหนังสือพินัยกรรมที่ลง วัน เดือน ป ที่ทํามีพยานรับรอง
              ๒ คน และผูทําพินัยกรรมตองลงชื่อไวดวย ถาเขียนหนังสือไมไดใหประทับตราหัวแมมือขวาลงใน

              พินัยกรรมแทนการลงชื่อ

                             ๒.๒  พินัยกรรมเขียนเอง ผูทําพินัยกรรมตองเขียนดวยลายมือตัวเองทั้งฉบับ
              แลวลงชื่อและวันเดือนป ที่ทําพินัยกรรมดวย

                             ๒.๓  พินัยกรรมทําที่อําเภอ ผูทําพินัยกรรมตองไปหานายอําเภอ หรือผูอํานวยการเขต
              ใหทําพินัยกรรมให และตองลงชื่อไวในพินัยกรรมนั้นดวยพรอมพยานอีก ๒ คน

                             ในการทําพินัยกรรมไมวาจะเปนแบบใดนั้น ผูทําพินัยกรรมจะสามารถยกเลิกเมื่อใด
              ก็ได และพินัยกรรมจะมีผลใชบังคับก็ตอเมื่อผูทําพินัยกรรมไดถึงแกความตายไปแลวเทานั้น

                          ó. ¡ÒÃẋ§Áô¡ÃÐËNjҧ·ÒÂÒ·â´Â¸ÃÃÁ
                             ๓.๑  การแบงมรดกในกรณีที่เจามรดกไมมีคูสมรสในขณะตาย ในกรณีที่เจามรดก

              ไมมีคูสมรส เชน แตงงานโดยไมไดจดทะเบียนสมรส หรือคูสมรสตายไปกอน หรือจดทะเบียนหยากันแลว
              กรณีเชนนี้ก็ตองแบงมรดกกันในระหวางญาติเทานั้น ในการพิจารณาวา ทายาทประเภทญาติ

              จะไดรับมรดกเพียงใดมีดังนี้ กฎหมายไดใหทายาทในลําดับที่ ๑ กับลําดับที่ ๒ ไดรับมรดกรวมกันกอน
              ถาไมมีบุคคลทั้งสองลําดับ ทายาทในลําดับที่ ๓ จึงจะไดรับมรดก

                             ๓.๒  กรณีที่มีคูสมรสอยูกอนตาย คูสมรสของเจามรดกนี้ หมายถึง สามีหรือภรรยา
              ของเจามรดกที่ไดจดทะเบียนสมรสกันถูกตองตามกฎหมายเทานั้น ฉะนั้น หากเปนคูสมรสของเจามรดก

              ที่เปนแตเพียงอยูกินกับเจามรดกฉันสามีภรรยา แตไมไดจดทะเบียนสมรสกันใหถูกตองตามกฎหมาย
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60