Page 21 - 10_พระราชบญญตตำรวจแหงชาต2547_Neat
P. 21

๑๔




              ราษฎรไมเห็นชอบดวยกับการแกไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา จึงตั้งคณะกรรมาธิการรวมเพื่อพิจารณา
              พระราชบัญญัติตํารวจ จํานวน ๒๔ คน และสภาผูแทนราษฎรกับวุฒิสภาไดลงมติเห็นชอบดวยกับรางที่

              คณะกรรมาธิการรวมพิจารณาเสร็จแลวนั้น เมื่อวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๖ เวลา ๑๗.๕๗ น.(จํานวน
              ผูเขาประชุม ๓๒๔ คน เห็นดวย ๓๒๔ คน) จึงถือวารัฐสภาไดใหความเห็นชอบรางพระราชบัญญัติตํารวจ

                          ตอมา เลขาธิการสภาผูแทนราษฎรไดมีหนังสือดวนที่สุด ที่ สผ ๐๐๑๔/๑๓๙๐๙ ลงวันที่
              ๔ ธันวาคม ๒๕๔๖ ยืนยันมติของรัฐสภาและสงรางพระราชบัญญัติดังกลาวตอเลขาธิการคณะรัฐมนตรี

              เพื่อใหนายกรัฐมนตรีนําขึ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวายเพื่อพระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธย
              ประกาศใชบังคับเปนกฎหมายตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ซึ่งนายกรัฐมนตรีไดนําราง

              พระราชบัญญัติตํารวจแหงชาติ พ.ศ. ... ขึ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย เมื่อพระมหากษัตริยทรงลง
              พระปรมาภิไธยแลว ไดมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม ๑๒๑ ตอนที่ ๑๘ ก

              วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๔๗ ดังนั้น พระราชบัญญัติตํารวจแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ จึงใชบังคับตั้งแตวันถัด
              จากวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๔๗ ซึ่งเปนวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ตามมาตรา ๒
              แหงพระราชบัญญัติดังกลาว นั่นคือ พระราชบัญญัติตํารวจแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ ใชบังคับตั้งแตวันที่

              ๑๕ กุมภาพันธ ๒๕๔๗ เปนตนไป



              à¨μ¹ÒÃÁ³ã¹¡ÒÃμÃÒ

                          เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้คือ โดยที่กฎหมายเกี่ยวกับขาราชการ
              ตํารวจซึ่งประกอบดวยพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการตํารวจ พ.ศ.๒๕๒๑ พระราชบัญญัติวาดวย

              วินัยตํารวจ พ.ศ.๒๔๗๗ พระราชบัญญัติยศตํารวจ พ.ศ.๒๔๘๐ และพระราชบัญญัติเครื่องแบบตํารวจ
              พ.ศ.๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒) ไดใชบังคับมาเปนเวลานานแลวทําใหมีบทบัญญัติหลายประการไมเหมาะสม

              แกการพัฒนาระบบงานของตํารวจในสภาพการณปจจุบัน ดังนั้นจึงสมควรปรับปรุงกฎหมายดังกลาว
              โดยนํามาบัญญัติรวมไวเปนกฎหมายฉบับเดียวใหครอบคลุมทุกเรื่องที่เกี่ยวกับขาราชการตํารวจ

              โดยกําหนดใหสํานักงานตํารวจแหงชาติแบงสวนราชการเปนสํานักงานผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ
              และกองบัญชาการ เพื่อกระจายอํานาจไปยังกองบัญชาการมากขึ้น โดยใหมีคณะกรรมการนโยบาย

              ตํารวจแหงชาติ (ก.ต.ช.) ทําหนาที่ในการกําหนดนโยบายการบริหารราชการตํารวจเพื่อเปนแนวทางการ
              บริหารราชการและการดําเนินงานของขาราชการตํารวจใหเปนไปตามนโยบายนั้น และกําหนดใหการ

              บริหารงานบุคคลเปนอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการขาราชการตํารวจ (ก.ตร.) โดยเฉพาะอันมีผลให
              การจัดระบบไมวาจะเปนในเรื่องการบริหารราชการ การบริหารงานบุคคล การบังคับบัญชา การแตงตั้ง

              และโยกยายหรือการดําเนินการทางวินัย เกิดความเปนธรรม ความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
              นอกจากนี้ไดกําหนดใหมีตําแหนงขาราชการตํารวจประเภทไมมียศและกําหนดตําแหนงพนักงานสอบสวน

              แยกตางหากจากตําแหนงขาราชการตํารวจที่มีอยูเดิม เพื่อเปนการพัฒนางานสอบสวนซึ่งถือเปน
              กระบวนการยุติธรรมในเบื้องตนที่สําคัญ ตลอดจนจัดใหมีกองทุนเพื่อสนับสนุนและพัฒนางานเกี่ยวกับ
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26