Page 89 - 10_พระราชบญญตตำรวจแหงชาต2547_Neat
P. 89

๘๒




                          ÁÒμÃÒ ÷õ  ใหผูรักษาราชการแทนตามมาตรา ๗๒ มีอํานาจหนาที่เชนเดียวกับผูซึ่งตนแทน
                          ในกรณีที่กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ คําสั่งหรือมติคณะรัฐมนตรีแตงตั้งใหผูดํารง

              ตําแหนงใดเปนกรรมการหรือใหมีอํานาจหนาที่อยางใด ใหผูรักษาราชการแทนมีอํานาจและหนาที่เปน
              กรรมการหรือมีอํานาจและหนาที่เชนเดียวกับผูดํารงตําแหนงนั้นในระหวางที่รักษาราชการแทน
                          การสั่งใหรักษาราชการแทนใหมีผลนับแตเวลาที่ผูไดรับแตงตั้งเขารับหนาที่และใหผูดํารง

              ตําแหนงรองหรือตําแหนงผูชวยพนจากความเปนผูรักษาราชการแทนนับแตเวลาที่ผูไดรับแตงตั้งเขารับ
              หนาที่ ทั้งนี้ไมเปนการกระทบกระเทือนถึงการใดที่ผูนั้นไดปฏิบัติไปแลวในระหวางเปนผูรักษาราชการแทน

                          ÁÒμÃÒ ÷ö  ในกรณีที่มีกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ คําสั่งหรือมติคณะรัฐมนตรี
              กําหนดใหอํานาจหรือหนาที่ใดเปนของปลัดกระทรวง การใชอํานาจหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวสําหรับ
              สวนราชการหรือหนวยงานของสํานักงานตํารวจแหงชาติใหถือเปนอํานาจและหนาที่ของผูบัญชาการ

              ตํารวจแหงชาติ



                          ÊÃØ»  มาตรา ๗๒ – ๗๖
                          การรักษาราชการแทน (รรท.) หมายถึง กรณีไมมีผูดํารงตําแหนงใดหรือมีแตไมอาจปฏิบัติ
              ราชการได กฎหมายกําหนดให ผูดํารงตําแหนงใดตําแหนงหนึ่งเขาไปรักษาราชการแทนตําแหนงนั้น

              โดยผูรักษาราชการแทนมีอํานาจหนาที่เชนเดียวกับผูซึ่งตนแทน การรักษาราชการแทนเกิดขึ้นโดยผล
              ของกฎหมายไมตองมีการแตงตั้ง เมื่อมีผูดํารงตําแหนง หรือมาปฏิบัติหนาที่ไดแลวการรักษาราชการ

              แทนก็จะสิ้นสุดลง
                          ปฏิบัติราชการแทน (ปรท.) ใชในกรณีผูมีอํานาจในการปฏิบัติหนาที่ มอบอํานาจที่ตน
              มีอยูในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องใหบุคคลอื่นปฏิบัติแทน เปนการทําใหเกิดความรวดเร็วกระจาย

              ความรับผิดชอบและสะดวกแกประชาชน การมอบอํานาจนี้ใชไดตลอดไปจนกวาจะมีการถอนอํานาจคืน
                          ระเบียบ ก.ต.ช.วาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติราชการของผูบัญชาการในฐานะเปนอธิบดี

              หรือแทนผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๑ และที่แกไขเพิ่มเติม กําหนดใหในกรณีที่มีกฎหมาย
              ระเบียบ ขอบังคับ หรือคําสั่ง หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องใด กําหนดใหการดําเนินการใดเปน
              อํานาจของอธิบดีหรือผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ ใหผูบัญชาการมีอํานาจเชนวานั้นในฐานะเปนอธิบดี

              หรือแทนผูบัญชาการตํารวจแหงชาติในสวนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติราชการของกองบัญชาการนั้นๆ เวนแต
              ในเรื่องดังตอไปนี้

                          (๑)  การวางแผนสรรหากําลังพล
                          (๒)  การใหความยินยอมใหขาราชการตํารวจโอนไปรับราชการในสวนราชการหรือ
              หนวยงานอื่น

                          (๓)  การอนุญาตใหขาราชการตํารวจไปปฏิบัติหนาที่ชั่วคราวนอกสังกัดสํานักงานตํารวจ
              แหงชาติ

                          (๔)  การจัดหายุทธภัณฑบางประเภทตามที่สํานักงานตํารวจแหงชาติกําหนด
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94