Page 107 - 08_กฎหมายอาญา_Neat
P. 107

๙๔




                                       สวนบุตรบุญธรรมไมใชผูสืบเชื้อสายโดยตรง  ดังนี้ศาลฎีกาโดยมติที่
              ประชุมใหญวินิจฉัยวา ºØμúØÞ¸ÃÃÁäÁ‹ãª‹¼ÙŒÊ׺Êѹ´Ò¹ ตามมาตรา ๗๑ จึงไมไดรับผลตามมาตรา ๗๑

              วรรคสอง ฉะนั้นจึงยอมความกันไมได
                               ๑.๒  พี่หรือนองรวมบิดามารดาเดียวกันกระทําตอกัน ขอนี้จํากัดเฉพาะรวมบิดา

              มารดาเดียวกันเทานั้น ซึ่งถือวาเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมายของมารดาก็ตาม ก็ยังถือวาเปนพี่นอง
              รวมบิดามารดาเดียวกัน และแมบิดาจะไปจดทะเบียนรับรองบุตรบางคนใหเปนบุตรที่ชอบดวย

              กฎหมายขึ้นมา บุตรอื่นที่ไมไดรับรองก็ถือวารวมบิดามารดาเดียวกัน
                                       μÑÇÍ‹ҧ ก. ลักทรัพยของมารดาไปจากผูที่ยืมทรัพยนั้นไปจากมารดา

              ของตน ดังนี้ ศาลฎีกาวินิจฉัยวา “จะเห็นไดมาตรา ๗๑ มุงถึงตัวทรัพยวาเปนของใคร ก. จําเลยจะรูวาทรัพย
              ที่ลักนั้นเปนของมารดาของตนหรือไมไมสําคัญ เมื่อความจริงทรัพยนั้นเปนของมารดาจําเลย จําเลย

              ก็ยอมไดรับประโยชนตามมาตรา ๗๑ เพราะกฎหมายบัญญัติเรื่องนี้เปนเหตุบรรเทาโทษเปนผลดีแก
              จําเลยจะไปเอาเรื่องเปนเหตุใหรับโทษหนักขึ้น อันเปนผลรายแกจําเลยมาวินิจฉัยไมได
                          ๒.  ผลที่ไดรับตามมาตรา ๗๑ วรรคสอง นี้ แยกพิจารณาได

                               ๒.๑  ใหเปนความผิดอันยอมความได แมกฎหมายจะมิไดบัญญัติใหยอมความได
              เชน ความผิดตามมาตรา ๓๓๔ ถึง มาตรา ๓๓๖ ซึ่งยอมความไมได แตมาตรา ๗๑ วรรคสอง

              ใหยอมความได ถาความผิดดังกลาวผูเสียหายไมรองทุกข พนักงานสอบสวนไมมีอํานาจสอบสวน
              หรือรองทุกขแลวสอบสวนหรือสงฟองตอศาล หรือศาลพิพากษาลงโทษได แตมีอุทธรณฎีกาตอไป

              คดียังไมถึงที่สุด ผูเสียหายยอมยอมความหรือถอนคํารองทุกขไดเสมอ เมื่อยอมความหรือถอน
              คํารองทุกขถูกตองตามกฎหมายแลว คดีนั้นระงับทันที แมจําเลยจะถูกศาลพิพากษาลงโทษแลวโทษนั้น

              ก็ระงับลง ศาลจะออกหมายปลอยตัวไป
                               ๒.๒  ในกรณีที่ไมยอมความกันหรือถอนคํารองทุกข ใหอํานาจศาลใชดุลพินิจใน

              การลงโทษจําเลยนอยกวาที่กฎหมายกําหนดไวสําหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได ทั้งนี้ไมตองคํานึงถึง
              โทษของความผิดนั้นจะมีขั้นตํ่าหรือไม แตไมลงโทษเลยไมได เมื่อศาลลงโทษแลวถาเปนการสมควร

              จะรอการลงโทษตามมาตรา ๕๖ ยอมทําได
                                     อนึ่ง การกระทําที่บุพการีกระทําตอผูสืบสันดาน ผูสืบสันดานกระทําตอ

              บุพการีหรือพี่นองรวมบิดามารดาเดียวกันกระทําตอกัน มาตรา ๗๑ วรรคสอง ที่บัญญัติใหเปน
              ความผิดอันยอมความไดเมื่อผูเสียหาย เชน พี่นองรวมบิดามารดาลักทรัพยกัน คดีมาสูศาล

              โดยพนักงานอัยการไดฟองตอศาลแลว แมจําเลยในคดีนั้นใหการรับสารภาพตามฟอง แตกอน
              ศาลพิพากษาพี่หรือนองซึ่งเปนผูเสียหายนั้นไดยื่นคํารองตอศาลขอถอนคํารองทุกขไมติดใจเอาความแก
              จําเลยตอไปแลว กรณีเชนนี้แมคดีนั้นจะเปนความผิดฐานลักทรัพยยอมความกันไมได แตมาตรา ๗๑

              วรรคสอง นี้ใหเปนความผิดอันยอมความได เมื่อผูเสียหายถอนคํารองทุกขโดยชอบแลว สิทธินําคดี

              นั้นมาฟองยอมระงับลงทันทีตามความในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙ (๒)
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112