Page 163 - 08_กฎหมายอาญา_Neat
P. 163

๑๕๐



              ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ㹤ÇÒÁ¼Ô´·Õèà¡ÕèÂǡѺ¡Òû¡¤Ãͧẋ§Í͡໚¹ ò ʋǹ

              ¤ÇÒÁ¼Ô´μ‹Í਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹

                          เดิมเมื่อยังใชกฎหมายลักษณะอาญา ศาลฎีกาเคยวินิจฉัยใหความหมายของคําวา
              เจาพนักงาน หมายถึง ผูที่ไดรับการแตงตั้งโดยทางการของรัฐบาลไทยใหปฏิบัติราชการไทยโดยปกติ

              จะถือวาผูใดเปนเจาพนักงาน ผูนั้นจะตองเปนขาราชการตามกฎหมาย เวนแตจะมีกฎหมายบัญญัติ
              ไวเปนพิเศษใหเปนเจาพนักงาน ตอมามีการประกาศใชประมวลกฎหมายอาญา กฎหมายก็มิได

              บัญญัติบทนิยามของคํานี้ไว แตตามที่เขาใจกันในปจจุบัน คําวา เจาพนักงานมีความหมายถึง บุคคลที่
              กฎหมายบัญญัติไว โดยเฉพาะวาเปนเจาพนักงาน และบุคคลที่ไดรับการแตงตั้งใหปฏิบัติหนาที่ราชการไมวา
              เปนประจําหรือชั่วคราว และไมวาจะไดรับประโยชนตอบแทนจากรัฐหรือไม

                          จากความหมายขางตน เจาพนักงาน หมายถึงบุคคล ๒ จําพวก คือ (๑) บุคคลที่กฎหมาย

              บัญญัติไวโดยเฉพาะวาเปนเจาพนักงาน และ (๒) บุคคลที่ไดรับแตงตั้งใหปฏิบัติหนาที่ราชการ ไมวา
              ประจําหรือครั้งคราว และไมวาจะไดคาตอบแทนหรือไม
                          ¡. ºØ¤¤Å·Õè¡®ËÁÒºÑÞÞÑμÔäÇŒâ´Â੾ÒÐÇ‹Ò໚¹à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹

                               กลาวคือ มีกฎหมายระบุไวเปนพิเศษวาใหบุคคลใดเปนเจาพนักงาน เชน พ.ร.บ.
              คณะสงฆ พ.ศ.๒๕๐๕ ใหเจาอาวาสและไวยาวัจกร เปนเจาพนักงาน, พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖

              ใหพนักงานเทศบาลเปนเจาพนักงาน, พ.ร.บ.ปองกันภัยทางอากาศ พ.ศ.๒๔๘๒ ระบุใหบุคคล
              ที่รัฐมนตรีกลาโหม แตงตั้งใหทําหนาที่ตํารวจ หรือดับเพลิง หรือกิจการอื่นใด เปนเจาพนักงาน นอกจากนี้

              ยังมีกฎหมายอื่นๆ อีกเปนจํานวนมากที่บัญญัติไวเปนพิเศษในลักษณะนี้ เชน พ.ร.บ.การทะเบียนราษฎร,
              พ.ร.บ.ยาสูบ, พ.ร.บ.ทะเบียนพาณิชย, กฎหมายที่ดิน เปนตน

                          ¢. ºØ¤¤Å·Õèä´ŒÃѺáμ‹§μÑé§ãËŒ»¯ÔºÑμÔ˹ŒÒ·ÕèÃÒª¡Òà äÁ‹Ç‹Ò»ÃÐจําËÃ×ͪÑèǤÃÒÇ
                               ผูที่ไดรับการแตงตั้งใหปฏิบัติราชการโดยทั่วไป ก็คือขาราชการ ฉะนั้น เจาพนักงาน

              ในความหมายนี้ก็คือขาราชการนั้นเอง จะเปนขาราชการฝายใดๆ ก็ได เชน ขาราชการพลเรือน
              ขาราชการตุลาการ ขาราชการทหาร ตํารวจ เปนตน แตจะตองไดรับการแตงตั้งโดยถูกตองตามหลักเกณฑ

              ที่บัญญัติไวในกฎหมาย ซึ่งวาดวยการแตงตั้งขาราชการดํารงตําแหนง กฎหมายเหลานี้ก็ไดแก
              พ.ร.บ.ระเบียบขาราชการพลเรือน, พ.ร.บ.ระเบียบขาราชการตุลาการ, พ.ร.บ.ระเบียบขาราชการตํารวจ

              เปนตน แตมิใชวาทุกคนที่ไดรับการแตงตั้งใหปฏิบัติราชการแลว จะเปนขาราชการและถือวาเปน
              เจาพนักงานไปทั้งหมด การแตงตั้งใหปฏิบัติราชการในอันที่จะทําใหผูไดรับการแตงตั้งมีฐานะ

              เปนขาราชการนั้น จะตองเปนการแตงตั้งตามหลักเกณฑที่กฎหมายบัญญัติไว
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168