Page 50 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 50

๔๓



                 μÑÇÍ‹ҧคํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաÒ
                             คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè ñùòõ/òõñö  บริิษัทโจทกโดยกรรมการผูจัดการคนเดิมฟองคดี

                 ไวแลว ตอมาบริษัทโจทกไดเปลี่ยนผูมีอํานาจกระทําการเปนผูแทนสิทธิในการจัดการแทนโจทกของ
                 กรรมการผูจัดการคนเดิมยอมสิ้นสุดลง ผูแทนคนใหมของบริษัทโจทกยอมเปนผูขอถอนฟองคดีนั้นได
                             คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè ñôöò - ó/òõòó  ธนาคารเปนผูเสียหายในกรณีที่มีการนํา

                 เช็คปลอมมาเบิกเงินจากธนาคาร ผูจัดการสํานักงานใหญของธนาคารมอบอํานาจให บ. รองทุกขแลว
                 ตอมาผูจัดการสํานักงานใหญของธนาคารตาย ดังนี้ไมเปนเหตุใหระงับการรองทุกขที่ทําสําเร็จแลว


                  ¢ŒÍÊѧà¡μ
                          กรณีตามมาตรา ๕ (๓) นี้ เปนเรื่องเฉพาะกรณีที่นิติบุคคลเปนผูเสียหายที่จะฟองรองดําเนินคดีตอบุคคลภายนอก
                  ที่กระทําผิดตอนิติบุคคลนั้น
                          ดังนั้น ในกรณีที่ผูจัดการนิติบุคคลหรือผูแทนอื่นของนิติบุคคลเปนผูกระทําผิดตอนิติบุคคลเสียเอง หรือรวมกับ
                  บุคคลภายนอกกระทําผิดตอนิติบุคคล เชน ผูจัดการนิติบุคคลยักยอกเงินของบริษัท แลวไมยอมฟองรองดําเนินคดี เชนนี้
                  บุคคลที่ไดรับความเสียหายจากการกระทําของผูจัดการนิติบุคคล ยอมมีอํานาจที่จะฟองรองดําเนินคดีผูจัดการนิติบุคคลนั้นได
                  ในฐานะผูเสียหายทั่วไป ตัวอยางเชน
                          คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè õò/òõòñ  กรรมการบริษัทรวมกับบุคคลอื่นยักยอกทรัพยของบริษัท กรรมการผูนั้นไมฟอง
                  คดีอาญา ผูถือหุนเปนผูเสียหายฟองกรรมการผูนั้น ใหลงโทษฐานยักยอกทรัพยได
                          คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè ñöøð/òõòð  เมื่อผูจัดการยักยอกทรัพยของหางหุนสวนนิติบุคคล ผูเปนหุนสวนของ
                  หางหุนสวนนั้น ยอมไดรับความเสียหาย จึงมีสิทธิฟองผูจัดการฐานยักยอกทรัพยไดตาม ป.วิอาญา มาตรา ๒ (๔), ๒๘ (๒)




                             ò.ó.ó ¼ÙŒÁÕอํา¹Ò¨¨Ñ´¡ÒÃá·¹â´Âä´ŒÃѺ¡ÒÃáμ‹§μÑ駨ҡÈÒÅ μÒÁÁÒμÃÒ ö
                                     ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๖ บัญญัติวา

                                     “ในคดีอาญาซึ่งผูเสียหายเปนผูเยาวไมมีผูแทนโดยชอบธรรม  หรือเปน
                 ผูวิกลจริตหรือคนไรความสามารถไมมีผูอนุบาล หรือซึ่งผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูอนุบาลไมสามารถ

                 จะทําการตามหนาที่โดยเหตุหนึ่งเหตุใด รวมทั้งมีผลประโยชนขัดกันกับผูเยาว หรือคนไรความสามารถ
                 นั้น ๆ ญาติของผูนั้นหรือผูมีประโยชนเกี่ยวของอาจรองตอศาลขอใหตั้งเขาเปนผูแทนเฉพาะคดีได

                                     เมื่อไดไตสวนแลวใหศาลตั้งผูรองหรือบุคคลอื่น ซึ่งยินยอมตามที่เห็นสมควร
                 เปนผูแทนเฉพาะคดี เมื่อไมมีบุคคลใดเปนผูแทน ใหศาลตั้งพนักงานฝายปกครองเปนผูแทน
                                     หามมิใหเรียกคาธรรมเนียมในเรื่องขอตั้งผูแทนเฉพาะคดี”

                                     จากมาตรา ๖ นี้ จะเปนบทกําหนดใหศาลแตงตั้งใหบุคคลใดบุคคลหนึ่งเปน

                 ผูแทนเฉพาะคดี โดยปกติแลว หากผูเยาวหรือผูไรความสามารถเปนผูเสียหายจากการกระทําความผิด
                 ทางอาญา ผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูอนุบาลก็จะเขามาจัดการแทนผูเสียหายที่แทจริง โดยอาศัย
                 หลักเกณฑตามมาตรา ๕ (๑) แตมีบางกรณีก็ไมสามารถนําหลักเกณฑมาตรา ๕ (๑) มาใชได

                 มาตรา ๖ จึงใหอํานาจศาลในการแตงตั้งผูแทนเฉพาะคดี ซึ่งศาลจะแตงตั้งผูแทนเฉพาะคดีไดโดยอาศัยเหตุ
                 ดังนี้
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55