Page 77 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 77

๗๐




                          ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤¢Í§¡ÒÃÍÍ¡ËÁÒÂàÃÕ¡
                          ๑.  เพื่อการสอบสวน  โดยมีขอยกเวนวา  หากพนักงานสอบสวน  หรือพนักงาน

              ฝายปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญไปทําการสอบสวนดวยตนเอง ยอมมีอํานาจที่จะเรียกผูตองหาหรือ
              พยานมาไดโดยไมตองออกหมายเรียก เชน เมื่อเจาพนักงานดังกลาวไปดูที่เกิดเหตุ หรือไปยังที่อยูของ

              ผูตองหา หรือพยานเอง เจาพนักงานมีอํานาจที่จะเรียกบุคคลนั้นมาพบได โดยไมตองออกหมายเรียก
              (มาตรา ๕๒ วรรคสอง)


               ¢ŒÍÊѧà¡μ
                       μÑÇÍ‹ҧ ตํารวจชั้นผูใหญไดทราบวามีการฆาตกรรมเกิดขึ้นในโรงแรมแหงหนึ่ง จึงรีบไปที่เกิดเหตุ และทําการ
               สอบสวน ตํารวจชั้นผูใหญยอมมีอํานาจที่จะเรียกบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งอยูในบริเวณที่เกิดเหตุสอบปากคําไดโดยไมตองมี
               หมายเรียก



                          ๒.  เพื่อการไตสวนมูลฟอง หมายถึง กระบวนไตสวนของศาลเพื่อวินิจฉัยถึงมูลคดี
              ซึ่งจําเลยตองหา (มาตรา ๒ (๑๒)) หรือเปนการพิจารณาหลักฐานของโจทกในเบื้องตนวามีมูลที่ศาล
              จะรับฟองของโจทกไวพิจารณาหรือไม ศาลตองไตสวนมูลฟองเสมอในคดีที่ราษฎรเปนโจทกฟองเอง

              แตถาคดีที่พนักงานอัยการเปนโจทกไมจําเปนตองไตสวนมูลฟอง  เวนแตศาลเห็นสมควร
              (มาตรา ๑๖๒ (๒)) ดังนั้น เมื่อมีการไตสวนมูลฟองศาลจะออกหมายเรียกพยานมายังศาลได
                          ๓.  เพื่อการพิจารณา หมายถึง กระบวนพิจารณาทั้งหมดในศาลใดศาลหนึ่งกอนศาลนั้น

              ชี้ขาดตัดสิน หรือจําหนายคดีโดยคําพิพากษาหรือคําสั่ง (ป.วิ.แพง มาตรา ๑ (๘)) ซึ่งในกรณีนี้ศาลอาจ
              จะออกหมายเรียกไปยังคูความหรือพยานใหมายังศาลได
                          ๔.  เพื่อการอยางอื่นตามประมวลกฎหมายนี้ที่อาจมีการออกหมายเรียก



              Ẻ¢Í§ËÁÒÂàÃÕ¡
                          หมายเรียก ตองทําตามแบบที่กําหนดไวตาม ป.วิ.อาญา มาตรา ๕๓ ซึ่งบัญญัติวา

                          “หมายเรียกตองทําเปนหนังสือ และมีขอความ ดังตอไปนี้
                          (๑)  สถานที่ที่ออกหมาย
                          (๒) วันเดือนป ที่ออกหมาย

                          (๓) ชื่อ และตําบลที่อยูของบุคคลที่ออกหมายเรียกใหมา
                          (๔) เหตุที่ตองเรียกผูนั้นมา

                          (๕) สถานที่ วันเดือนป และเวลาที่จะใหผูนั้นไปถึง
                          (๖)  ลายมือชื่อ และประทับตราของศาลหรือลายมือชื่อ และตําแหนงเจาพนักงาน
              ผูออกหมาย”
                          หมายเรียกจําเปนตองทําเปนหนังสือ และมีขอความตามที่ระบุไวดังกลาว โดยเฉพาะ

              รายการที่สําคัญ คือ
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82