Page 93 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 93
๘๖
μÑÇÍ‹ҧคํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաÒ
ËÁÒÂàÃÕ¡ ËÁÒÂÍÒÞÒ
คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաҷÕè ñóôñ/òõðù เมื่อมีผูไปแจงความตอพนักงานสอบสวนกลาวหา
วาจําเลยบุกรุกที่ดิน จําเลยยอมตกอยูในฐานะเปนผูตองหาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา มาตรา ๒ (๒) แลว ซึ่งในชั้นสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๑๓๔ พนักงานสอบสวนจะบังคับใหผูตองหาใหถอยคําใด ๆ ไมไดและมาตรา ๑๓๕ ก็บัญญัติ
หามมิใหพนักงานสอบสวนลอลวงหรือขูเข็ญผูตองหาใหใหการอีกดวย จึงเห็นไดวาหมายเรียกของ
พนักงานสอบสวนที่ใหผูตองหามาเพื่อใหการ ไมเขาลักษณะเปนคําบังคับตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๑๖๘
กรณีผูตองหาขัดขืนไมมาใหการตามหมายเรียกโดยไมมีขอแกตัวอันควรนั้น ประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๖๖ (๓) บัญญัติทางแกไว ใหพนักงานสอบสวนมีอํานาจ
ออกหมายจับตัวมาได เปนการลงโทษอยูแลว จึงเห็นไดวาเจตนารมณของประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๑๖๘ หาไดมุงหมายจะใชบังคับกับผูตองหาที่ขัดขืนไมมาใหการตอพนักงานสอบสวนตาม
หมายเรียกดวยไม (ประชุมใหญครั้งที่ ๑๗/๒๕๐๙)
คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաҷÕè ñùõô/òõñõ พนักงานสอบสวนเชิญจําเลยไปใหถอยคําในฐานะ
พยานที่สถานีตํารวจโดยไมไดออกหมายเรียก จําเลยยอมมาโดยดีและพนักงานสอบสวนบอกจําเลย
วาจะสอบสวนเปนพยาน ยอมหมายความวาสั่งใหจําเลยใหถอยคํา คําสั่งของพนักงานสอบสวน
เชนนี้จึงเปนคําบังคับตามกฎหมายใหจําเลยใหถอยคํา เมื่อจําเลยขัดขืนคําบังคับดังกลาว ยอมมี
ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๖๙
คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաҷÕè ôòùó/òõô÷ คดีนี้หมายเรียกและสําเนาคําฟองไดสง
ใหแกจําเลยที่ ๒ โดยทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับ จึงมีผลเสมือนวาเจาพนักงานศาลเปนผูสงตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๗๓ ทวิ เมื่อ ร. ซึ่งเปนภรรยาของจําเลยที่ ๒ ซึ่งมีอายุเกิน ๒๐ ป และอยูบานเดียวกัน
ไดรับหมายเรียกและสําเนาคําฟองดังกลาวเมื่อวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๔๖ ตามรายงานเจาหนาที่
และใบตอบรับในประเทศ ยอมถือไดวามีการสงหมายเรียกและสําเนาคําฟองใหจําเลยที่ ๒ โดยชอบแลว
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๗๖ วรรคหนึ่ง จําเลยที่ ๒ อาจยื่นคําใหการไดภายใน ๑๕ วัน นับแตวันดังกลาว
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๗ วรรคหนึ่ง ซึ่งจะครบกําหนดในวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๔๖ การที่จําเลย
ที่ ๒ ยื่นคําใหการในวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๔๖ จึงเปนการยื่นคําใหการเกินกําหนด ๑๕ วัน ซึ่งเปนการ
ไมปฏิบัติตามกฎหมาย ทั้งการสงหมายเรียกและสําเนาคําฟองใหแกจําเลยที่ ๒ โดยทางไปรษณีย
ลงทะเบียนตอบรับเชนนี้ หาใชเปนการสงโดยวิธีอื่น ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๗๙ ไม